แนวทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาด้วยภาษาอังกฤษผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลในศตวรรษที่ 21

  • พระอานนท์ อานนฺโท (เปลือกเขียว) มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา
  • พระนพดล ปภสฺสรวํโส (ปันมะ) มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา
  • พระเจษฎา ชินวโร (ลังกาชัย) มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา
คำสำคัญ: พระพุทธศาสนา, การเผยแผ่ธรรมะ, ภาษาอังกฤษ, เทคโนโลยีดิจิทัล, ศตวรรษที่ 21

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาผ่านสื่อภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีดิจิทัลในศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน พัฒนาการ และความท้าทายของการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในยุคดิจิทัล ตลอดจนนำเสนอแนวทางการบูรณาการภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายในระดับนานาชาติ ขอบเขตการศึกษาครอบคลุมถึงการวิเคราะห์ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีต่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนา การปรับตัวเชิงกลยุทธ์ของพระสงฆ์และสถาบันทางศาสนา และบทบาทของภาษาอังกฤษในฐานะสื่อกลางสำคัญในการเผยแผ่หลักธรรม ผลการศึกษาพบว่า ความสำคัญของการพัฒนาสมรรถนะด้านภาษาอังกฤษ การออกแบบสื่อการสอนที่สอดคล้องกับบริบทร่วมสมัย และการพัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัลที่ตอบสนองพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนในยุคดิจิทัล ข้อค้นพบสำคัญแสดงให้เห็นว่าเทคโนโลยีดิจิทัลสามารถลดข้อจำกัดด้านเวลาและสถานที่ อันนำไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพและการเข้าถึงการเผยแผ่หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาอย่างมีนัยสำคัญ

บรรณานุกรม

ปัณณพงศ์ วงศ์ณาศรี และวีรนุช พรมจักร. (2567). กลยุทธ์การขับเคลื่อนการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในบริบทความเปลี่ยนแปลงด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่เพื่อการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่หลากหลายของคณะสงฆ์. วารสารรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 4(1), 73-87. สืบค้นจาก
https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jpsmbu/article/ view/267851/ 179267
อุทิส ศิริวรรณ. (2561). สถานการณ์พระพุทธศาสนาในโลกตะวันตก. วารสารธรรมธารา, 3(2), 79-141. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/dhammadhara/article/view/160787.
จารุวรรณ นุแรมรัมย์. (2562). ศึกษาพระพุทธศาสนามหายานในโลกตะวันตก : อดีตถึงปัจจุบัน. วารสารวิจัยธรรมศึกษา, 2(2), 40–44. สืบค้น จาก
https://so07.tci-thaijo.org/index.php/dsr/article/view/438
พระมหาวราสะยะ วราสยานนท์, และชนมกร ประไกร. (2563). ภาษาอังกฤษกับการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในศตวรรษที่ 21. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 7(10), 98–112. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JMND/article/view/247521
พระมหานงค์ อับไพ, หควณ ชูเพ็ญ. (2556). การบริหารการเผยแผ่พุทธศาสนาในยุคโลกาภิวัตน์ของมหาเถรสมาคม. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 39(1), 253–267. สืบค้น จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/socku/article/view/80006
พระครูวินัยธรวุฒิไกร อภิรกฺโข, พระณัฐวุฒิ พันทะลี, พระครูใบฎีกาเดชา นามวงษา และอานันท์ กรมน้อย. (2567). การปรับตัวและการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ในสังคมยุคดิจิทัล. วารสารวิชาการพระพุทธศาสนาเขตลุ่มแม่น้ำโขง, 7(2), 33–45. สืบค้น จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/bmrj/article/view/274039
พระมหาจักรพล สิริธโร. (2563). การเผยแผ่พุทธศาสนา ในยุคไทยแลนด์ 4.0. วารสารสถาบันวิจัยญาณสังวร, 11(1), 80–90. retrieved from
https://so04.tci-thaijo.org/index.php/yri/article/view/244033
พระครูวินัยธรปัญญา ปญฺญาวโร (ศรีสมุทร) และบุญเตือน ทรัพย์เพชร (2564), การจัดการเผยแผ่พระพุทธศาสนายุคดิจิทัล. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 6(4), 423–433. สืบค้นจาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JSBA/article/view/249930
พระมหาทองเก็บ ญาณพโล และกิตฑามาศ ศิริไชย. (2566). ทักษะที่พึงประสงค์สำหรับพระธรรมทูตผู้เผยแผ่พระพุทธศาสนาในต่างประเทศเพื่อการพัฒนากำลังคนในยุคพลเมืองดิจิทัล. วารสาร มจร พุทธศาสตร์ปริทรรศน์, 7(3), 88-98. Retrieved from
https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jmb/article/view/267616
กนกวรรณ ปรีดิ์เปรม (2567). พระพุทธศาสนากับการดำเนินชีวิตในยุคดิจิทัล: การปรับตัวและความท้าทาย.วารสารพุทธจิตวิทยา, 9(4), 711–722. สืบค้น จาก
https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jbp/article/view/280998
พระมหาสุเทพ สุวฑฺฒโน (เหลาทอง) (2562). กลยุทธ์การเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระธรรมทูตสายต่างประเทศ. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 6(3), 1363–1378. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JMND/article/view/185481
พระครูสุธีปริยัติโกศล. (2561). พัฒนาการวิชาพัฒนาจิตในมหาวิทยาลัยสงฆ์ สภาพปัจจุบันและปัญหารูปแบบการพัฒนาเพื่อความมั่นคงแห่งพระพุทธศาสนา อย่างยั่งยืน. วารสารสถาบันวิจัยญาณสังวร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 9(2), 154–164. retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/yri/article/view/173088
พระมหาสมชัย กลิ่นจันทร์, ประกรอบ แก้วเสส, และพระราชวรเมธี. (2559). การเผยแผ่พระพุทธศาสนา : การพัฒนารูปแบบและวิธีการเชิงรุกของคณะสงฆ์ไทย. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 5(1), 205–216. Retrieved From
https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/245356
เพ็ญศรี ปักกะสีนัง, อภินันท์ จันตะนี, สมเดช นามเกตุ, และพระครูพิศาลสารบัณฑิต (ราเชนทร์ วิสารโท). (2567). การพัฒนาจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์เพื่อเผยแผ่พระพุทธศาสนา ในยุคดิจิทัล. วารสารมณีเชษฐาราม, 7(3), 1120–1136. สืบค้น จาก
https://so07.tci-thaijo.org/index.php/JMCR/article/view/4945/3330
พระครูโสภณธรรมวิภัช เอี่ยมบึงลำ, และทักษ์ อุดมรัตน์ (2562). การพัฒนาคู่มือการจัดรายการวิทยุเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ของนักจัดรายการวิทยุชุมชนในเขตภาคเหนือตอนล่าง. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 21(2), 188–197. retrieved from
https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/173440
พระมหาขวัญชัยกิตฺติเมธี (เหมประไพ). (2561). “พุทธศาสนาในฐานะเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์”. วารสาร มจร ปรัชญาปริทรรศน์, 1(2), 116–127. สืบค้น จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jmpr/article/view/250384/169407
Buddhistdoor Global. (2023). Digital Dharma – Buddhism in a changing world. สืบค้นจาก https://www.buddhistdoor.net/special-issue-2023-digital-dharma
Ober, D. (2023). Dust on the throne: The search for Buddhism in modern India. Stanford, CA: Stanford University Press. https://doi.org/10.1111/1467-9809.13036
Cho, K. (2024). Mindful meditation: A potential effective therapeutic in clinical practice. Science Insights, 45(1), 1431-1437. https://doi.org/10.15354/si.24.re1026
Farmer, J. M. (2021). A History of East Asia: From the Origins of Civilization to the Twenty-First Century. By Charles Holcombe. JAOS, 133(1), 149–151.
https://doi.org/10.7817/jameroriesoci.133.1.0149
เผยแพร่แล้ว
2025-03-29