การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาผ่านสื่อดิจิทัล
คำสำคัญ:
การสอนภาษาอังกฤษ, การเผยแผ่พระพุทธศาสนา, สื่อดิจิทัล, การเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม, เทคโนโลยีดิจิทัล
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มุ่งศึกษาแนวทางพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาผ่านสื่อดิจิทัล โดยบูรณาการการสอนภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ หลักการเผยแผ่ธรรมะ และเทคโนโลยีดิจิทัล ผลการศึกษาพบว่า รูปแบบการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ได้แก่ การเตรียมความพร้อม การนำเสนอเนื้อหาใหม่ การฝึกปฏิบัติ การประยุกต์ใช้ และการสะท้อนผล โดยมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษในบริบทพระพุทธศาสนาผ่านสื่อดิจิทัล ข้อเสนอแนะประกอบด้วยการพัฒนาศักยภาพครูผู้สอน การสร้างแพลตฟอร์มการเรียนรู้เฉพาะทาง และการสร้างเครือข่ายความร่วมมือระดับนานาชาติ ทั้งนี้ แนวโน้มการพัฒนาในอนาคตยังรวมถึงการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อสนับสนุนการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในระดับสากลอย่างยั่งยืน
บรรณานุกรม
พระปลัดเมธี ปิยธมฺโม (หินใหม่), สมบูรณ์ บุญโท, และสวัสดิ์ อโณทัย. (2563). การประยุกต์ใช้ปรัชญาหลังนวยุคและพุทธปรัชญาเพื่อการเผยแผ่หลักพุทธธรรมในสังคมยุคดิจิทัล. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 5(8), 452-466. Retrieved from https://so04.tcithaijo.org/index.php/ JSBA/article /view/244777/166440
พระมหาบุญสุข ชนะชัย, บุญมี พรรษา, วีระพงษ์ แพงคําฮัก,และพระมหาสันทัศน พงษ์สวัสดิ์(2565). การพัฒนาการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในยุคโลกาภิวัตน์. วารสารการบริหารนิติบุคคลและเครือข่ายนวัตกรรมท้องถิ่นเพื่อการวิจัยและส่งเสริมนวัตกรรมทางสังคมศาสตร์, 8 (12), 184-205. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jsa-journal/article/view/ 257432/178296
พระมหาวราสะยะ วราสยานนท์ และชนมกร ประไกร (2563). ภาษาอังกฤษกับการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในศตวรรษที่ 21. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 7(10), 98–112. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JMND/article/view/247521
พระมหาวัฒนา ปญฺญาทีโป (คำเคน) และ พิชญานันต์ พงษ์ไพบูลย์ (2567). การพัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์และคู่มือในรูปแบบดิจิทัลสำหรับส่งเสริม การท่องเที่ยววิถีพุทธนานาชาติในเมืองหลัก 15 จังหวัดของประเทศไทย. วารสาร มจร บาลีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์, 10(1), 12–24. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/Palisueksabuddhaghosa/article/view/264253
พระมหาสุเทพ สุวฑฺฒโน (เหลาทอง) (2562). กลยุทธ์การเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระธรรมทูตสายต่างประเทศ. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 6(3), 1363–1378. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JMND/article/view/185481
อุมาพร คาดการณ์ไกล (2558). การออกแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานและองค์ประกอบที่มีประสิทธิภาพของการเรียนการสอนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในรายวิชาการเขียนภาษาอังกฤษ. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 35(1), 1-31. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/sujthai/article/ view/17790/28289
Hashim, W., & Hashim, H. A. (2015). Selection of appropriate media and technology for distance education. International Journal of Science and Research (IJSR), 4(11), 1208–1216. Retrieved from https://www.researchgate.net/publication/310004744
Reyna, J., Hanham, J., & Meier, P. (2018). The Internet explosion, digital media principles and implications to communicate effectively in the digital space. E-Learning and Digital Media, 15(1), 36-52. Retrieved from https://doi.org/10.1177/2042753018754361
Saelo, W. (2024). Dark Side and Evolving Society and Technology. KKU Research Journal (Graduate Studies) Humanities and Social Sciences, 12(3), 16–25. retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/gskkuhs/article/view/274860
พระมหาบุญสุข ชนะชัย, บุญมี พรรษา, วีระพงษ์ แพงคําฮัก,และพระมหาสันทัศน พงษ์สวัสดิ์(2565). การพัฒนาการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในยุคโลกาภิวัตน์. วารสารการบริหารนิติบุคคลและเครือข่ายนวัตกรรมท้องถิ่นเพื่อการวิจัยและส่งเสริมนวัตกรรมทางสังคมศาสตร์, 8 (12), 184-205. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jsa-journal/article/view/ 257432/178296
พระมหาวราสะยะ วราสยานนท์ และชนมกร ประไกร (2563). ภาษาอังกฤษกับการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในศตวรรษที่ 21. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 7(10), 98–112. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JMND/article/view/247521
พระมหาวัฒนา ปญฺญาทีโป (คำเคน) และ พิชญานันต์ พงษ์ไพบูลย์ (2567). การพัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์และคู่มือในรูปแบบดิจิทัลสำหรับส่งเสริม การท่องเที่ยววิถีพุทธนานาชาติในเมืองหลัก 15 จังหวัดของประเทศไทย. วารสาร มจร บาลีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์, 10(1), 12–24. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/Palisueksabuddhaghosa/article/view/264253
พระมหาสุเทพ สุวฑฺฒโน (เหลาทอง) (2562). กลยุทธ์การเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระธรรมทูตสายต่างประเทศ. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 6(3), 1363–1378. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JMND/article/view/185481
อุมาพร คาดการณ์ไกล (2558). การออกแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานและองค์ประกอบที่มีประสิทธิภาพของการเรียนการสอนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในรายวิชาการเขียนภาษาอังกฤษ. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 35(1), 1-31. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/sujthai/article/ view/17790/28289
Hashim, W., & Hashim, H. A. (2015). Selection of appropriate media and technology for distance education. International Journal of Science and Research (IJSR), 4(11), 1208–1216. Retrieved from https://www.researchgate.net/publication/310004744
Reyna, J., Hanham, J., & Meier, P. (2018). The Internet explosion, digital media principles and implications to communicate effectively in the digital space. E-Learning and Digital Media, 15(1), 36-52. Retrieved from https://doi.org/10.1177/2042753018754361
Saelo, W. (2024). Dark Side and Evolving Society and Technology. KKU Research Journal (Graduate Studies) Humanities and Social Sciences, 12(3), 16–25. retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/gskkuhs/article/view/274860
เผยแพร่แล้ว
2025-03-29
How to Cite
บท
Articles