รูปแบบการบริหารงานวิชาการด้วยเทคนิค MINE Model เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และทักษะอาชีพของนักเรียนโรงเรียนถนอมราษฎร์บำรุง อำเภอเมือง จังหวัดตาก
คำสำคัญ:
คำสำคัญ การพัฒนารูปแบบ, การบริหารงานวิชาการ, ทักษะอาชีพ, ความคิดสร้างสรรค์
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) ศึกษาสภาพการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนถนอมราษฎร์บำรุง 2) สร้างรูปแบบการบริหารงานวิชาการ MINE Model เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และสร้างทักษะอาชีพของนักเรียนโรงเรียนถนอมราษฎร์บำรุง 3) ทดลองรูปแบบการบริหารงานวิชาการ MINE Model เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และสร้างทักษะอาชีพของนักเรียนโรงเรียนถนอมราษฎร์บำรุง 4) ประเมินผลรูปแบบการบริหารงานวิชาการ MINE Model เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และสร้างทักษะอาชีพของนักเรียนโรงเรียนถนอมราษฎร์บำรุง
ผลการวิจัยพบว่า :
- สภาพการจัดการเรียนรู้จากการวิเคราะห์ความต้องการจำเป็น ค่าการวิเคราะห์สูงสุดคือ ด้านการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะอาชีพ I= 31 สภาพที่ต้องการ D=97 (I-D)/D= 0.680 แสดงว่าผู้บริหารและครูผู้สอน ต้องการที่จะพัฒนาทักษะอาชีพของผู้เรียนให้มีสมรรถนะที่ดียิ่งขึ้น
- สร้างรูปแบบและยืนยันรูปแบบ 1) โดยใช้การสอนแบบ Active Learning และการสอนด้วยการคิดเชิงออกแบบ 2) ยืนยันรูปแบบด้วย Delphi Technique ผลการวิเคราะห์ค่า IQR = 0 ทุกข้อ แสดงว่าผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นที่เป็นฉันทามติ และยืนยันความถูกต้องของรูปแบบด้วยโมเดลการวัด CFA
- นำรูปแบบไปทดลองจัดการเรียนรู้กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 และปีที่ 6 ของโรงเรียนถนอมราษฎร์บำรุง จำนวน 157 คน วัดความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 และ ปีที่ 6 รวม 14 ด้าน ด้วยแบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ของ Jellen & Urban
- ประเมินผลการใช้รูปแบบด้วยสถิติ LGM พบว่าหลังการใช้รูปแบบนักเรียน มีอัตราพัฒนาการด้านความคิดสร้างสรรค์ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .01 **ทั้ง 14 ด้าน
คำสำคัญ การพัฒนารูปแบบ, การบริหารงานวิชาการ, ทักษะอาชีพ, ความคิดสร้างสรรค์
บรรณานุกรม
เตชินี ทิมเจริญ, และคณะ. (2565). การพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ฐานการคิดเชิงออกแบบ เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของนักเรียนในวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่. วารสารวิชาการธรรมทัศน์, 22(3). 1-12. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/dhammathas/article/view/256077/174311
น้ำผึ้ง มีศิล. (2559). การวิจัยด้วยเทคนิคเดลฟาย การหลีกเลี่ยงมโนทัศน์ที่ไม่ถูกต้อง. วารสารสาขามนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์และศิลปะ, 9(1). 1256-1267. https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/61679/50809
พิพัฒน์พงศ์ จิตต์เทพ. (2564). การพัฒนาความสามารถการสร้างสรรค์นวัตกรรมทางสังคมในสาระภูมิศาสตร์ ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้การคิดเชิงออกแบบ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. Journal of Roi Kaensarn Academi, 6(10). 78-93. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/ JRKSA/article/view/250088/169960.
พิศิษฐ ตัณฑวณิช และพนา จินดาศรี. (2561). ความหมายที่แท้จริงของค่า IOC. วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 24 (2), 3–12. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jemmsu/ article/view/174521/124950
วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสดศรี- สฤษดิ์วงศ์.
ศรันยู หมื่นเดช. (2560). การพัฒนารูปแบบการสอนแบบโครงงานร่วมกับสื่อสังคมเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนและระดับมัธยมศึกษาตอนต้น. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเศวร.
สมโภชน์ พูลเขตกิจ. (2563). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดเชิงออกแบบเพื่อเสริมสร้างทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. [การค้นคว้าแบบอิสระ ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต], มหาวิทยาลัยนเรศวร. http://www.edu.nu.ac.th/th/news/ docs/download/2020_12_01_11_07_48.pdf
สุขุม มูลเมือง. (2559 ). เทคนิคการวิเคราะห์สถิติขั้นสูงโมเดลสมการโครงสร้างการประยุกต์ใช้โปรแกรม Amos และ Mplus. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุวิมล ว่องวาณิช. (2550). การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็น. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อภิชาติ เนินพรหม. (2559). การพัฒนารูปแบบกระบวนการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้างความสามารถทางการคิดสร้างสรรค์สำหรับผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม. [ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต], มหาวิทยาลัยบูรพา. https://buuir.buu.ac.th/bitstream/ 1234567890/11470/1/53810167.pdf
Cronbach, L. J. (1990). Essentials of psychological testing (5th ed.). New York: Harper Collins Publishers.( pp.202-204)
Faul, F., Erdfelder, E., Buchner, A., & Lang, A.-G. (2009). Statistical power analyses using G*Power 3.1: Tests for correlation and regression analyses. Behavior Research Methods, 41, 1149-1160.
Jellen, H.G. &Urban, K.K. (1989). Assessing Creative Potential World-wide: The First cross – cultural Application of the Test for Creative Thinking-drawing Production (TCT-DP). Gifted Education International, 6(2), 78 155.
น้ำผึ้ง มีศิล. (2559). การวิจัยด้วยเทคนิคเดลฟาย การหลีกเลี่ยงมโนทัศน์ที่ไม่ถูกต้อง. วารสารสาขามนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์และศิลปะ, 9(1). 1256-1267. https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/61679/50809
พิพัฒน์พงศ์ จิตต์เทพ. (2564). การพัฒนาความสามารถการสร้างสรรค์นวัตกรรมทางสังคมในสาระภูมิศาสตร์ ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้การคิดเชิงออกแบบ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. Journal of Roi Kaensarn Academi, 6(10). 78-93. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/ JRKSA/article/view/250088/169960.
พิศิษฐ ตัณฑวณิช และพนา จินดาศรี. (2561). ความหมายที่แท้จริงของค่า IOC. วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 24 (2), 3–12. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jemmsu/ article/view/174521/124950
วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสดศรี- สฤษดิ์วงศ์.
ศรันยู หมื่นเดช. (2560). การพัฒนารูปแบบการสอนแบบโครงงานร่วมกับสื่อสังคมเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนและระดับมัธยมศึกษาตอนต้น. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเศวร.
สมโภชน์ พูลเขตกิจ. (2563). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดเชิงออกแบบเพื่อเสริมสร้างทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. [การค้นคว้าแบบอิสระ ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต], มหาวิทยาลัยนเรศวร. http://www.edu.nu.ac.th/th/news/ docs/download/2020_12_01_11_07_48.pdf
สุขุม มูลเมือง. (2559 ). เทคนิคการวิเคราะห์สถิติขั้นสูงโมเดลสมการโครงสร้างการประยุกต์ใช้โปรแกรม Amos และ Mplus. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุวิมล ว่องวาณิช. (2550). การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็น. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อภิชาติ เนินพรหม. (2559). การพัฒนารูปแบบกระบวนการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้างความสามารถทางการคิดสร้างสรรค์สำหรับผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม. [ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต], มหาวิทยาลัยบูรพา. https://buuir.buu.ac.th/bitstream/ 1234567890/11470/1/53810167.pdf
Cronbach, L. J. (1990). Essentials of psychological testing (5th ed.). New York: Harper Collins Publishers.( pp.202-204)
Faul, F., Erdfelder, E., Buchner, A., & Lang, A.-G. (2009). Statistical power analyses using G*Power 3.1: Tests for correlation and regression analyses. Behavior Research Methods, 41, 1149-1160.
Jellen, H.G. &Urban, K.K. (1989). Assessing Creative Potential World-wide: The First cross – cultural Application of the Test for Creative Thinking-drawing Production (TCT-DP). Gifted Education International, 6(2), 78 155.
เผยแพร่แล้ว
2025-02-27
How to Cite