พุทธวรรณกรรมล้านนา
บทคัดย่อ
พระพุทธศาสนามีความเจริญรุ่งเรืองควบคู่กับอาณาจักรล้านนามาตลอด เมื่อพระมหากษัตริย์หรือชนชั้นผู้ปกครองส่งเสริมทะนุบำรุง พระพุทธศาสนาก็มีความเจริญอย่างมาก การบันทึกเรื่องราวประวัติศาสตร์ของพระพุทธศาสนา และการอธิบายหลักธรรมคำสอนนั้น ล้วนเป็นผลที่สืบเนื่องประวัติศาสตร์ทางพระพุทธศาสนาที่มีการส่งเสริมการศึกษาอย่างจริงจังดังในยุคทองของล้านนา จนสามารถรจนาคัมภีร์ภาษาบาลีขึ้นเป็นจำนวนมาก มรดกทางวรรณกรรมล้านนาเป็นองค์ความรู้ผลงานทางวรรณกรรมที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของดินแดนล้านนา มีหลากหลายประเภทและสะท้อนถึงความเชื่อ ประเพณี และวิถีชีวิตของชาวล้านนา มรดกทางวรรณกรรมล้านนามีความสำคัญในการอนุรักษ์ สืบทอดวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์และสังคมของชาวล้านนา
บรรณานุกรม
บำเพ็ญ ระวิน, (2538), มูลศาสนาสำนวนล้านนา. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่: ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์.
พระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น). (2548). “การศึกษาองค์ความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ปรากฏในวรรณกรรมพระพุทธศาสนาเรื่องอานิสงส์และคัมภีร์ที่ใช้เทศน์ในเทศกาลต่าง ๆ ของล้านนา”. ดุษฎีนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พงศาวดารโยนก อ้างใน พระครูอดุลย์สีลกิตติ์,พระครูสิริสุตาภิมนฑ์.พระมหาสง่า ธีรวฺงโส, ยุพิน เข็มมุกด์, ประวัติศาสตร์พุทธศาสนาในล้านนา ฉบับ 635 ปี พระบรมธาตุดอยสุเทพ. เชียงใหม่: ห้างหุ้นส่วนจำกัด โรงพิมพ์ แสงศิลป์.
พญาประชากิจกรจักร. (2507). พงศาวดารโยนก. เชียงใหม่: โรงพิมพ์พลรุ่งเรืองรัตน์.
พระครูสุธีสุตสุนทร ฤทธิชัย แกมนาค และสุภัชชา พันเลิศพาณิชย์. (2558) “การวิเคราะห์เนื้อหาเกี่ยวกับสถานที่ทางประวัติศาสตร์ที่ปรากฏในคัมภีร์ชินกาลมาลีปกรณ์”. เอกสารสืบเนื่องการประชุม การประชุมทางวิชาการและการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ ปี 2558. มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา 24 – 25 ตุลาคม 2558.
พระพุทธญาณเจ้าและพระพุทธพุกาม, (2530), ตํานานมูลศาสนา. แปลโดย นายสุด ศรีสมวงศ์ และนายพรหม ขมาลา (เปรียญ), พิมพ์ครั้งที่ 4, กรุงเทพมหานคร : คณะพระสังฆาธิการเขตยานนาวา จัดพิมพ์เป็น ธรรมทานงานพระราชทานเพลิงศพ พระธรรมราชานุวัตร. โรงพิมพ มิตรสยาม.
พระโพธิรังสี, (2506). นิทานพระพุทธสิหิงค์. แปลโดย แสง มนวิทูร. ร.ต.ท., กรุงเทพมหานคร: กรมศิลปากร.
เทพประวิณ จันทร์แรง. (2562). ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในล้านนา: การวิเคราะห์จากคัมภีร์และหลักฐานทางโบราณคดี. วารสารพุทธศาสตร์ศึกษา 10 (1), 40
เทพประวิณ จันทร์แรง, (2560). ชีวิตและผลงานวรรณกรรมของพระนักปราชญ์ชาวล้านนา. เชียงใหม่: บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่.
ยุพิน เข็มมุกด์. (2549). “ประวัติศาสตร์พุทธศาสนา” ในประวัติศาสตร์พุทธศาสนาในล้านนา. เชียงใหม่: โรงพิมพ์แสงทิพย์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร: นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.
รัตนาพร เศรษฐกุล, (2557) ฮอมพญา 30 ปี มจร วิทยาเขตเชียงใหม่ (จากแคว้นโยนสู่แคว้นพิงค์ การขยายอำนาจของพญามังราย). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ลมูล จันทร์หอม. (2538). วรรณกรรมท้องถิ่นล้านนา. กรุงเทพมหานคร: โอ.เอส. พริ้นติ้งเฮ้าส์.
กรมศิลปากร. (2539). กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์. วรรณกรรม สมัยรัตนโกสินทร์ เล่ม 4 ชินกาลมาลีปกรณ์. กรุงเทพมหานคร: บริษัทเซเว่น พริ้นติ้ง กรุ๊ป จำกัด.
อรุณรัตน์ วิเชียรเขียว. (2514). “ความสัมพันธ์ระหว่างชนชั้นในสังคมเชียงใหม่สมัยโบราณ” ในวารสาร สังคมศาสตร์. 20 เมษายน – กันยายน 2514.