การท่องเที่ยวภูมิปัญญาศิลปะยุคทองของล้านนา : ร่องรอยและอิทธิพลของพุทธศาสนา

  • ธีระพงษ์ จาตุมา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่
  • วรวิทย์ นิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่
  • ปฎิเวธ เสาว์คง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่
  • พลสรรค์ สิริเดชนนท์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่
  • สุวิน มักได้ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่
คำสำคัญ: แหล่งท่องเที่ยว, ภูมิปัญญางานศิลปะ, ่องรอยและอิทธิพลของพุทธศาสนา

บทคัดย่อ

บทความวิชาการ เรื่องการท่องเที่ยวภูมิปัญญาศิลปะยุคทองของล้านนา ร่องรอยและอิทธิพลของพุทธศาสนายุคทองของล้านนา กล่าวถึง คือ รูปแบบทางศิลปกรรมของอาคารมหาวิหาร นักวิชาการบางส่วนเชื่อว่าเป็นรูปแบบที่รับอิทธิพลของพุทธคยาในประเทศอินเดียและขณะที่นักวิชาการบางส่วนสันนิษฐานว่าได้รับอิทธิพลศิลปะพุกามจากสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ในส่วนของบริบทแหล่งท่องเที่ยวภูมิปัญญาศิลปะยุคทองของล้านนา ตำแหน่งที่ตั้งของศิลปะสัตตมหาสถานจำลอง 7 แห่ง ณ วัดโพธาราม หรือวัดเจ็ดยอด จังหวัดเชียงใหม่ ที่สร้างในดินแดนที่เลื่อมใสพุทธศาสนาซึ่งสะท้อนถึงการผสานศรัทธากับการสร้างสรรค์งานศิลปกรรมอันเป็นเอกลักษณ์ของดินแดนล้านนา นอกจากนี้ยังได้กล่าวถึง ความเป็นมาและความสำคัญของภูมิปัญญาศิลปะยุคทองของล้านนา      ในรัชสมัยพระเจ้าติโลกราช ที่เป็นยุคทองของพระพุทธศาสนา ศิลปกรรม วรรณกรรม ตลอดจนการเมือง การทหารที่สำคัญที่สุดยุคหนึ่งของเชียงใหม่และล้านนา รวมทั้งร่องรอยและอิทธิพลของพุทธศาสนาแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างผู้คนต่างถิ่นผ่านคติความเชื่อที่มีร่วมกัน

บรรณานุกรม

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2549). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราช กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

รัตนปัญญาเถร. (2540). ชินกาลมาลีปกรณ์. แปลโดย แสง มนวิทูร. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
เชษฐ์ ติงสัญชลี,สัตตมหาสถาน : พุทธประวัติตอนเสวยวิมตุติสุขกับศิลปกรรมอินเดียและเอเชีย.

อาคเนย์. (2555). ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร.กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์เมืองโบราณ.

วิชาภรณ์ ชำนิกำจร . (2556). ศึกษาเพื่อออกแบบผังบริเวณสัตตมหาสถาน และสังเวชนียสถาน 4 ตำบล ณ วัดวังปลาโด อำเภอบรบือ มหาสารคาร. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สมโชติ อ๋องสกุล (2562). ชุมชนรอบวัดในเชียงใหม่:ประวัติศาสตร์ชุมชน. พิมพ์ครั้งแรก โรงพิมพ์ศูนย์ ล้านนา. คณะมนุษยศาสตร์ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

เชษฐ์ ติงสัญชลี. (2555). หนังสือสัตตมหาสถานพุทธประวัติตอนเสวยวิมุติสุขกับศิลปกรรมอินเดียและเอเชียอาคเนย์ กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์เมืองโบราณ.

จารุวรรณ พึ่งเทียร. (2560). พุทธศิลป์,พิมพ์ครั้งที่ 4 กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ฉัตรแก้ว สิมารักษ์. (2541). ประติมากรรมปูนั้นรูปเทพชุมนุมประดับผนังวิหารเจ็ดยอด วัดเจ็ดยอด (มหาโพธาราม) จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. ประวัติศาสตร์ศิลปะ.มหาวิทยาลัยศิลปากร.

เล็กสันติ . (2527). ศิลปะภาคเหนือ. วัดเจ็ดยอด (มหาโพธาราม) ศิลปะยุคทองของล้านนา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคม.

สงวน โซติสุชรัตน์. (2515). ประชุมล้านนาไทย เล่ม 2. พระนคร: โอเดียนสโตร.
เผยแพร่แล้ว
2024-09-09