ฆราวาสธรรม 4 กับการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัว

  • กิตติ์ ขวัญนาค มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่
  • อำนาจ ขัตวิชัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่
  • จักรินทร์ ฮุงอวน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่
  • ณัฐพรหมเสน ลึกสิงห์แก้ว มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่
  • อุเทน ลาพิงค์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้ต้องการนำเสนอ ประเด็นหลักธรรมฆราวาสธรรม 4 การแก้ปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวปัจจุบันนั้น ซึ่งหลักธรรมที่มีความสำคัญเป็นอย่างมากสำหรับนำไปใช้แก้ปัญหานี้ และเป็นธรรมะสำหรับฆราวาสหรือคฤหัสถ์ผู้ที่อยู่ครองเรือนสำหรับธรรมะที่จะนำมาพัฒนาคุณภาพชีวิตมนุษย์ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ฆราวาสธรรม 4 ได้แก่ 1. สัจจะความซื่อสัตย์ต่อกัน 2. ทมะ การข่มจิตใจตัวเอง3. ขันติ ความอดทน4. จาคะ การเสียสละเพื่อครอบครัวเพื่อสังคมจึงจะทำให้สังคมนั้นอยู่กันอย่างมีความสุข ข้อเสนอแนะในการนำบทความวิชาการไปใช้ประโยชน์มหาวิทยาลัยควรนำองค์ความรู้ดังกล่าวพัฒนาลงในหลักสูตรการเรียนการสอน และนำไปพัฒนาศึกษาวิจัยผลในระดับชุมชนหรือกรณีศึกษาเพื่อหาผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพต่อไป

บรรณานุกรม

พระมหาดวงเด่น ฐิตญาโณ.(2558). การแก้ปัญหาความขัดแย้งทางสังคม : แนวคิดว่าด้วยทรัพย์สินส่วนกลางใน สังคมสงฆ์. พระพุทธศาสนากับวิกฤติโลก. วารสารมหาจุฬาวิชาการ. 2 (ฉบับพิเศษ)

ปรีดา จันทร์แจ่มศรี และคณะ. (2557). กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์, “ความจริงของชีวิต”. หลักสูตรหมวดวิชาศึกษาทั่วไป : มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.

ชลากร เทียนส่องใจ.(2553). “การเจรจาไกล่เกลี่ยคนกลางเชิงพุทธ: หลักการและเครื่องมือสำหรับการจัดการ ความขัดแย้ง”, วิทยานิพนธ์พุทธศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย.

พระมหายุทธนา นรเชฏฺโฐฺ (ศิริวรรณ). (2556). พระพุทธศาสนากับการแก้ไขความขัดแย้งทางการเมืองในสังคมไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : พิมพ์ที่ โรงพิมพ์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ชลากร เทียนส่องใจ. (2553). “การเจรจาไกล่เกลี่ยคนกลางเชิงพุทธ: หลักการและเครื่องมือสำหรับการจัดการความ ขัดแย้ง”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย.

พระมหาหรรษา ธมฺมหาโส (นิธิบุณยากร). (2553). “รูปแบบการจัดการความขัดแย้งโดยพุทธสันติวิธิ: ศึกษา วิเคราะห์กรณีลุ่มน้าแม่ตาช้าง จ.เชียงใหม่”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระปลัดชัยภัทร ขนฺติธโร. (2558). “บทบาทของผู้นากับการบริหารความขัดแย้ง” พุทธจักร โลกร่มเย็นดับเข็ญได้ ด้วยศาสนา. 12(69), 17-18.
เผยแพร่แล้ว
2024-09-06