เกมแห่งกรรมและการชดใช้: บทสะท้อนอภิปรัชญาและพุทธจริยศาสตร์จากซีรีส์เกมท้าตาย

  • พระครูปลัดธันรบ โชติวํโส วงศ์ษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขต เชียงใหม่
  • พระวิสิทธิ์ ฐิตวิสิทฺโธ วงค์ใส มหาวิทยาลัยมหาจุฬสลงกรณราชวิทยาลัย เชียงใหม่
คำสำคัญ: กรรม, การชดใช, พุทธจริยศาสตร์, ซีรีส์เกมท้าตาย

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) วิเคราะห์แนวคิดทางอภิปรัชญาเรื่องกรรมและการชดใช้จากซีรีส์เรื่อง เกมท้าตาย 2) วิเคราะห์พุทธจริยศาสตร์ ในแง่ของการกระทำ ผลกรรม และการรับผิดชอบต่อการกระทำ 3) วิเคราะห์แง่คิดที่ซีรีส์นำเสนอเกี่ยวกับกรรมและการชดใช้

ผลการศึกษาพบว่าซีรีส์เรื่อง ìเกมส์ท้าตายî ได้นำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับกรรมและการชดใช้ผ่านตัวละคร เหตุการณ์ และบทสรุปของเรื่อง สะท้อนให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างเจตนา การกระทำ ตลอดจนความรับผิดชอบต่อผลลัพธ์ ผ่านการนำเสนอบททดสอบอันโหดร้ายที่ตัวละครต้องเผชิญ สอดคล้องกับทัศนะเรื่องกรรมหลักอนัตตาและไตรลักษณ์ในพุทธปรัชญา สะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อมโยงระหว่างการกระทำของตัวละครกับผลลัพธ์ที่ตามมา ขยายความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดเรื่องกรรมและการชดใช้ในบริบทของสื่อบันเทิงสมัยใหม่ กระตุ้นให้เกิดการศึกษาพุทธศาสนา และเป็นสื่อกลางที่นำเสนอแนวคิดทางปรัชญาที่ซับซ้อนในรูปแบบที่เข้าใจง่าย เกิดการอภิปรายเกี่ยวกับประเด็นทางจริยศาสตร์และบทบาทของสื่อในการส่งเสริมคุณธรรมและสร้างสรรค์สังคม

บรรณานุกรม

กรมศาสนา. (2525). พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับหลวง เล่ม 37. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์กรมศาสนา.

ชนินันท์ ศรีธีระวิศาล. (2523). การลงโทษประหารชีวิต. วิทยานิพนธ์ปริญญานิติ ศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พระครูปลัดธันรบ โชติวํโส (วงศ์ษา) และคณะ. (2565). เจตจํานงเสรีมีจริงหรือแค่สิ่งลวงตา. วารสารบัณฑิตแสงโคมคำ. 7 (1), 181 – 186.

_______. (2566). ความขัดแย้งทางจริยธรรมและการตัดสินใจ จากภาพยนตร์เรื่องอัศวินรัตติกาล. วารสารพุทธศิลปกรรม. 6 (2), 163.

พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2541). พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ. พิมพ์ครั้งที่ 7 . กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระวิสิทธิ์ ฐฃิตวิสิทฺโธ (วงค์ใส) และคณะ. (2564). โทษประหารชีวิต ใครมีสิทธิชีวิตเป็นขอใคร. วารสารบัณฑิตแสงโคมคำ. 6 (1), 111 - 113.

พุทธทาสภิกขุ. (2549). พุทธทาสภิกขุ. อิทัปปัจจยตา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สุขภาพใจ.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2535). พระไตรปิฎกภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม 10, 13, 22, 25. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

_______. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม 1, 10, 13, 15, 17, 22, 25. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย.
วัชระ งามจิตรเจริญ. (2561). พุทธศาสนาเถรวาท. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วินทร์ เลียววาริณ. (2553). ปลาที่ว่ายนอกสนามฟุตบอล (ปลาที่ว่ายในสนามฟุตบอล ภาค 2). กรุงเทพมหานคร : บริษัท 113 จำกัด.

ศิริประภา รัตตัญญู. (2550). กระบวนการสู่การกระทำผิดในคดีฆาตรกรรมของนักโทษประหาร. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สมภาร พรมทา. (2542). พุทธปรัชญา : มนุษย์ สังคม และปัญหาจริยธรรม. กรุงเทพมหานคร : โครงการตำราคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สมยศ เชื้อไทย. (2552). นิติปรัชญา. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สยาม ราชวัตร. (2560). การพิสูจน์โลกหน้าในพระไตรปิฎก. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อุททิศ แสนโกศิก. (2525). กฎหมายอาญา ภาค 1. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์บริการ เอกสารและวิชาการ กองวิชาการ กรมอัยการ.

Barry Gerhart & Sara L. Rynes. (2003). Compensation: Theory, Evidence, and Strategic. California : SAGE Publications, Inc.

Mark D. White. (13 June 2014). "Lex Talionis". Encyclopedia of Law and Economics. Retrieved August 2, 2024, from https://doi.org/10.1007/978-1-4614-7883-6_18-1
เผยแพร่แล้ว
2024-09-06