พุทธวิธีการบริหารจัดการศึกษาสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน

  • พระปลัดสถิตย์ โพธิญาโณ วิทยาลัยสงฆ์เชียงใหม่
  • อ้อมตะวัน สารพันธ์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่
  • วสันต์ ปานสังข์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่
คำสำคัญ: พุทธวิธี, การบริหารจัดการศึกษา, การพัฒนาอย่างยั่งยืน

บทคัดย่อ

การบริหารจัดการศึกษาตามพุทธวิธี มีความสำคัญอย่างยิ่งในการบริหารจัดการ ด้วยหลักการที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษา เพื่อการขับเคลื่อนการพัฒนาการบริหารสถานศึกษาทั้งระบบการบริหารงานให้ประสบความสำเร็จ ทั้งนี้การทำงานให้สำเร็จโดยอาศัยคนอื่น (Getting things done through other people) การบริหารตน การบริหารคน บริหารงาน ตามหลักธรรมธรรมที่มีอุปการะมาก (สติ สัมปชัญญะ) ธรรมที่คุ้มครองโลก (หิริ โอตตัปปะ) อิริยสัจ 4 ศีล 5 กัลยาณมิตร 7 หลักอธิบาทธรรม และสัปปุริสธรรม 7 หากยึดมั่นในหลักพุทธธรรมที่กล่าวมาทั้งหมดนี้แล้ว ในการบริหารและการจัดการศึกษา และตามทฤษฎีทางการบริหารแนวคิด คติฐาน และข้อยุุติโดยทั่วไป ประกอบด้วยมโนทัศน์ คติฐานเบื้องต้น และหน้าที่หลักของทฤษฎี ทฤษฎีเป็นเครื่องช่วยให้ค้นคว้าการเรียนรู้ หากตั้งมั่นในการปฏิบัติและนำไปประยุกต์ใช้ในการทำงานอย่างต่อเนื่องก็จะส่งเสริมให้การปฏิบัติงานนั้นประสบความสำเร็จอย่างยั่งยืน

บรรณานุกรม

เกษม วัฒนชัย. 2546. ธรรมาภิบาลกับบทบาทคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร: สำนักนโยบายและแผนการศึกษา.
เกษร เกษมชื่นยศ. การพัฒนาของไทยตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน. ว.จันทรเกษมสาร 2563. 26(1):16-30.

จันทรานี สงวนนาม. (2545). ทฤษฎีแนวปฏิบัติการบริหารสถานศึกษา. กรุงเทพมหานคร : บุค พอยท์.

นพพงษ์ บุญจิตราดุลย์. (2548). หลักการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ : บพิธการพิมพ์.

บานชื่น นักการเรียน. (2559). การพัฒนาที่ยั่งยืน Sus-tainable Development. ว.สิรินธรปริทรรศน์. 17(2): 64-69.

บรรเทิง พาพิจิตร. (2548). การปกครองตามแนวพุทธศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: โอ เอ พริ้นติ้ง การพิมพ์.

ทิศนา แขมมณี และภาษิต ประมวลศิลป์ชัย. (2547). ประสบการณ์และกลยุทธ์ของผู้บริหารในการ ปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งโรงเรียน. กรุงเทพมหานคร: ปกรณ์ศิลป์พริ้นติ้ง.

พระเทพวิสุทธิเมธี (ปัญญานันทภิกขุ). (2546). หน้าที่ของคนฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภาการพิมพ์.

พระธรรมโกศาจารย์(ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2549). พุทธวิธีบริหาร. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2546). พจนานุกรมพุทธศาสน์ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ 11.

สยาม ราชวัตร. (2548). พระพุทธศาสนากับชีวิตประจำวัน. ปรัชญาและศาสนา คณะมนุษย์ศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

วิทย์ วิศทเวทย์ และเสถียรพงษ์ วรรณปก. (2544). พระพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร: นานมี บุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.

สมศักดิ์ คงเที่ยง. (2545). หลักและทฤษฎีการบริหาร. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2524). รายงานการวิจัยเรื่อง ความเสมอภาคของการลงทุนทางการศึกษา ของโรงเรียนเทศบาลทั่วราชอาณาจักร. สงขลา : มงคลการพิมพ์.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ. [อินเทอร์เน็ต]. 2560 [เข้าถึงเมื่อ 20 สิงหาคม 2563]. เข้าถึงได้จาก: http://backof-fice.onec.go.th/uploads/Book/1581-file.pdf.2560

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สำนักงาน ก.พ.ร.). (2557). เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ พ.ศ. 2558 (Public Sector Management Quality Award). กรุงเทพมหานคร : บริษัท วิชั่น พริ้นท์แอนด์มีเดีย จำกัด.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579. กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.

อุดมพร อมรธรรม (2549). ปรัชญาการศึกษาในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพมหานคร: โสภณการพิมพ์.

Fisk, R.S. and T.T Russell. (2000). Administration Behavior in Education. 2nd ed. New York: Harper and Row.

Hoy, Wayne. K and Cecil G. Miskel. (1991). Educational Administration : Theory Research and Practice: 4 thed. New York : Harper Collins.

Kerlinger, F. N. (1986). Foundations of Behavior Research. Japan : CBS.
เผยแพร่แล้ว
2024-09-07