อิทธิพลของความเชื่อที่มีต่อพระธาตุหริภุญชัยของชาวพุทธล้านนา

  • พระครูใบฎีกาณัฏฐนันท์ ไชยยายอง วัดพระธาตุหริภุญชัย จังหวัดลำพูน
คำสำคัญ: ความเชื่อ, พระธาตุหริภุญชัย, พระพุทธศาสนา

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของความเชื่อที่มีต่อพระธาตุหริภุญชัยของชาวพุทธล้านนา จากการศึกษาพบว่า ชาวล้านนามีความเชื่อหลายประเภท เช่น ความเชื่อเรื่องผีสาง เทวดา ความเชื่อเรื่องไสยศาสตร์ ความเชื่อเรื่องโหราศาสตร์ จนเมื่อได้รับอิทธิพลจากพระพุทธศาสนา จึงมีความเชื่อเกี่ยวกับเรื่องกรรม เรื่องบุญ-บาป สำหรับความเชื่อเรื่องพระธาตุนั้นเป็นความเชื่อที่ได้รับอิทธิพลมาจากพระพุทธศาสนาโดยตรง ชาวล้านนาเชื่อว่า พระธาตุเป็นสัญลักษณ์ของพระพุทธเจ้า พระธาตุหริภุญชัย เป็นพระธาตุสำคัญในล้านนา สร้างก่อนสมัยพระนางจามเทวี เป็นพระธาตุประจำปีเกิดของคนที่เกิดปีระกา (ไก่) ชาวล้านนาได้เคารพนับถือและสักการะพระธาตุหริภุญชัยมาอย่างยาวนาน ทำให้เกิดอิทธิพลต่อสังคมในด้านต่างๆ คือ 1. ด้านวิถีชีวิต 2. ด้านสังคม 3. ด้านประเพณี วัฒนธรรม และ 4. ด้านเศรษฐกิจ

บรรณานุกรม

ขนิษฐา จิตชินะกุล. (2545). คติชนวิทยา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
คณาจารย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2558). ประวัติพระพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

. (2560). พระพุทธศาสนาเถรวาท. พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ชวลิต สัยเจริญ. (2542). “อิทธิพลด้านคติความเชื่อเรื่องผีที่มีผลต่อรูปแบบสถาปัตยกรรมล้านนาในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่”. รายงานวิจัย. เชียงใหม่: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ดิเรก ก้อนกลีบ และคณะ. (ม.ป.ป.). ลำพูนสู่มรดกโลก. เชียงใหม่: หจก.ดารารัตน์การพิมพ์, ม.ป.ป.
ธนพร แตงขาว. (2548). “การศึกษาวิถีชีวิตและความเชื่อของชาวล้านนาจากจารึกล้านนา”.
วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจารึกภาษาไทย. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

เธียรชาย อักษรดิษฐ์. (2552). พิธีกรรมฟ้อนผี. เชียงใหม่: ธารปัญญา จำกัด.

นงเยาว์ ชาญณรงค์. (2536). ศาสนากับสังคม. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

บงกชรัตน์ เตชะไตรศักดิ์. (2541). ภูมิศาสตร์วัฒนธรรม. ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

พระครูจิรธรรมธัช. (2557). พุทธศิลป์ไทย. ขอนแก่น: หจก. คลังนานาวิทยา.
พระศรีธรรมโสภณ (บรรณธิการ). (2550). สมุดภาพโบราณ วัดพระธาตุหริภุญชัย. เชียงใหม่: บริษัท สันติภาพแพ็คพริ้นท์ จำกัด.

พินิจ หาญพาณิชย์ และคณะ. (2555). ตามรอยเสด็จฯ จังหวัดลำพูน. ม.ป.ท.: ม.ป.พ..

เพิ่มศักดิ์ วรรลยางกูร. (2546). ชีวิตและวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพมหานคร: วังอักษร.

มณี พะยอมยงค์. (2537). ประเพณีสิบสองเดือนล้านนาไทย. เชียงใหม่: ส.ทรัพย์การพิมพ์.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2542). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร: นานมีบุ๊คส์พลับลิเคชั่นส์.

วิโรจน์ อินทนนท์. (2554). ความคิดล้านนา. ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์:มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

. (2549). ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในประเทศไทย. ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สงวน โชติสุขรัตน์. (2553). ประเพณีไทยภาคเหนือ. นนทบุรี: ศรีปัญญา.

สาคร สังฆนา. (2556). “ศึกษาวิเคราะห์พุทธพยากรณ์กับความเชื่อของสังคมไทย”. สารนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สุรชัย จงจิตงาม. (2555). ล้านนา อาร์ตแอนด์คัลเจอร์. กรุงเทพมหานคร: มิวเซียมเพลส.

โสภา ชานะมูล. (2534). “ครูบาศรีวิชัย “ตนบุญ” แห่งล้านนา (พ.ศ.2421 – 2481)”. วิทยานิพนธ์ศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต. คณะศิลปศาสตร์: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สุรชัย จงจิตงาม. (2555). ล้านนา อาร์ตแอนด์คัลเจอร์. กรุงเทพมหานคร: มิวเซียมเพลส.
เผยแพร่แล้ว
2022-12-30