มุทิตาในพระพุทธศาสนา
คำสำคัญ:
มุทิตา, พระพุทธศาสนา, จิต
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหลักมุทิตาในพระพุทธศาสนา ผลการศึกษาพบว่า มุทิตา หมายถึง ความเบิกบานพลอยยินดี เมื่อผู้อื่นได้ดีหรือได้รับความสำเร็จ มีความสุข ความเจริญก้าวหน้า เป็นคุณธรรมที่กำจัดความอิจฉาริษยาได้ หลักมุทิตาเป็นส่วนประกอบหนึ่งในหลักพรหมวิหาร ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการบริหารงานของผู้บริหาร การพัฒนามุทิตาในพระพุทธศาสนานั้นต้องพัฒนาจากจิตใจ ซึ่งจะส่งผลต่อการกระทำหรือคำพูด ผู้ที่มีจิตมุทิตาถือเป็นบุคคลที่ยกระดับจิตใจให้สูงกว่าคนธรรมดาสามัญ จิตที่ประกอบด้วยมุทิตานั้นเป็นจิตที่ดีงาม เป็นฐานที่ก่อให้เกิดปัญญา รู้เท่าทันต่อความโลภและความริษยา
บรรณานุกรม
เจือจันท์ วังทะพันธ์. (2559). “ศึกษาการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสำนักงานสรรพากรพื้นที่หนองคาย อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ดนัย ไชยโยธา. (2546). พจนานุกรมพุทธศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: บริษัทธรรมสาร จำกัด.
ธวัชชัย กาวิจาและอุเทน ลาพิงค์. (2561). “การนำหลักพรหมวิหารธรรมไปปฏิบัติในการสอนของครู โรงเรียนเทศบาล 1 บ้านกลาง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน”. วารสารพุทธศาสตร์ศึกษา. 9 (2) : 119-121.
พระครูประโชติกิตติสาร. (2553). “ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการนำหลักพรหมวิหาร 4 ไปใช้ในการปฏิบัติงานของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา”. วิทยานิพนธ์ศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.
พระครูวิวัฒน์ธรรมานุกูล (อ๊อด ธมฺมบาโล) สุทธิพงษ์ ศรีวิชัย และสมศักดิ์ บุญปู่. (2563). “การพัฒนาคุณลักษณะพรหมวิหารธรรม สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา”. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์. 7 (1) : 33-34.
พระเทพดิลก (ระแบบ จิตญาโณ). (2545). นิเทศธรรม. กรุงเทพมหานคร: แปดสิบเจ็ด.
พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช). (2541). พระในบ้าน. กรุงเทพมหานคร: คาธาวรรณการพิมพ์.
พระพุทธโฆสเถระ. (2554). คัมภีร์วิสุทธิมรรค. แปลและเรียบเรียงโดย. สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร). พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ธนาเพรส จำกัด.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2546). ภาวะผู้นำ. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ธรรมสภา.
. พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 16. กรุงเทพมหานคร: เอส. อาร์พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์ จำกัด.
พระมหาก้อง ฐานงฺกโร (โป๊ะหนองแวง). (2560). “การศึกษามุทิตาธรรมที่ปรากฏในพุทธศาสนาเถรวาท”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระมหาบุญเพียร ปุญฺญวิริโย. (2539) “แนวคิดและวิธีการขัดเกลาทางสังคมในสถาบันครอบครัวตามแนวพระพุทธศาสนา”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ. (2539). ปรมัตถโชติโก มหาภิธรรมมัตถสังคหฎีกา ปริเฉทที่ 9 สมถกรรม ฐานทีปนี. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ทิพยวิสุทธิ์.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มาลินี จุทะรพ. (2543). จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เปลวอักษร.
วรญา ทองอุ่น. (2548). มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ. สุรินทร์: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน). (2543). รวมธรรมะ. กรุงเทพมหานคร: บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด มหาชน.
ดนัย ไชยโยธา. (2546). พจนานุกรมพุทธศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: บริษัทธรรมสาร จำกัด.
ธวัชชัย กาวิจาและอุเทน ลาพิงค์. (2561). “การนำหลักพรหมวิหารธรรมไปปฏิบัติในการสอนของครู โรงเรียนเทศบาล 1 บ้านกลาง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน”. วารสารพุทธศาสตร์ศึกษา. 9 (2) : 119-121.
พระครูประโชติกิตติสาร. (2553). “ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการนำหลักพรหมวิหาร 4 ไปใช้ในการปฏิบัติงานของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา”. วิทยานิพนธ์ศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.
พระครูวิวัฒน์ธรรมานุกูล (อ๊อด ธมฺมบาโล) สุทธิพงษ์ ศรีวิชัย และสมศักดิ์ บุญปู่. (2563). “การพัฒนาคุณลักษณะพรหมวิหารธรรม สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา”. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์. 7 (1) : 33-34.
พระเทพดิลก (ระแบบ จิตญาโณ). (2545). นิเทศธรรม. กรุงเทพมหานคร: แปดสิบเจ็ด.
พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช). (2541). พระในบ้าน. กรุงเทพมหานคร: คาธาวรรณการพิมพ์.
พระพุทธโฆสเถระ. (2554). คัมภีร์วิสุทธิมรรค. แปลและเรียบเรียงโดย. สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร). พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ธนาเพรส จำกัด.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2546). ภาวะผู้นำ. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ธรรมสภา.
. พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 16. กรุงเทพมหานคร: เอส. อาร์พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์ จำกัด.
พระมหาก้อง ฐานงฺกโร (โป๊ะหนองแวง). (2560). “การศึกษามุทิตาธรรมที่ปรากฏในพุทธศาสนาเถรวาท”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระมหาบุญเพียร ปุญฺญวิริโย. (2539) “แนวคิดและวิธีการขัดเกลาทางสังคมในสถาบันครอบครัวตามแนวพระพุทธศาสนา”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ. (2539). ปรมัตถโชติโก มหาภิธรรมมัตถสังคหฎีกา ปริเฉทที่ 9 สมถกรรม ฐานทีปนี. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ทิพยวิสุทธิ์.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มาลินี จุทะรพ. (2543). จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เปลวอักษร.
วรญา ทองอุ่น. (2548). มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ. สุรินทร์: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน). (2543). รวมธรรมะ. กรุงเทพมหานคร: บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด มหาชน.
เผยแพร่แล้ว
2022-06-30