ประเพณีปอยต้นหอลม จังหวัดแม่ฮ่องสอน

  • วรรธนันท์ เชิดชูศีลธรรม
คำสำคัญ: หลักพุทธธรรม, ประเพณีปอยต้นหอลม, แม่ฮ่องสอน

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประวัติและความเป็นมาและหลักพุทธธรรมที่ปรากฏในประเพณีปอยต้นหอลม จังหวัดแม่ฮ่องสอน พบว่า ปอยต้นหอลม เป็นการจัดงานถวายแด่องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่พระองค์ได้เสด็จลงมายังโลกมนุษย์ การจัดงานประเพณีหอต้นหอลมค่อยๆ จางหายไป เนื่องจากพิธีกรรมมีขั้นตอนและรายละเอียดค่อยข้างมาก ต้องใช้ช่างฝีมือของชาวไตแบบดั้งเดิมหรือปราชญ์ พบว่าเหลือการจัดประเพณีปอยต้นหอลมเหลือเพียง 2 วัด ในจังหวัดแม่ฮ่องสอนเท่านั้น องค์ความรู้ผ่านพิธีกรรมทางศาสนา และหลักพุทธธรรมที่ปรากฏในประเพณีปอนต้นหอลม คือ หลักพุทธธรรมที่ปรากฏคือ ด้านความกตัญญู ด้านความสามัคคี ด้านการให้ทาน กัลยาณมิตรธรรม

บรรณานุกรม

จังหวัดแม่ฮ่องสอน. (2566). ประชากร/กลุ่มชาติพันธุ์. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.maehongson.go.th/new/societal-characteristics/ [23 ตุลาคม 2566].

ปัทมา วัฒนบุญญาและคณะ. (2561). “ประเพณีสิบสองเดือนของชาวไทยใหญ่ : กรณีศึกษา การฟื้นฟูประเพณีปอยต้นหอลม วัดม่วยต่อ”. รายงานการวิจัย. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์: มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

มณฑิรา ศิริสว่าง. (2562). “ดนตรีกับวิถีชีวิตชาวไทยใหญ่ ตำบลทุ่งยาว อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน”. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีดนตรีตะวันตก. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

วีระ เลิศสมพร. (2553). นักการเมืองถิ่นจังหวัดแม่ฮ่องสอน. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพระปกเกล้า.
เผยแพร่แล้ว
2022-06-30