การประยุกต์หลักทิฏฐธรรมิกัตถประโยชน์กับจัดการกองทุนสวัสดิการชุมชน
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1. เพื่อศึกษาแนวคิดการจัดการกองทุนสวัสดิการชุมชน และ 2. เพื่อวิเคราะห์การประยุกต์หลักทิฏฐธรรมิกัตถประโยชน์กับการจัดการกองทุนสวัสดิการชุมชน เป็นการวิจัยเชิงเอกสาร ผลการวิจัยพบว่า หลักทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์สามารถนำมาประยุกต์กับการจัดการกองทุนสวัสดิการชุมชน คือ การส่งเสริมให้สมาชิกได้มีความขยันหมั่นเพียรในการหาเลี้ยงชีพ การนำเงินส่งเข้าสมทบกองทุน ส่งเสริมให้คณะกรรมการกองทุนได้เอาใจใส่ในการปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มความสามารถ มีแนวทางการรักษาผลประโยชน์ของทั้งในส่วนกองทุนและสมาชิกกองทุน มีการคัดเลือกกรรมการกองทุนสวัสดิการชุมชนที่เป็นคนดี ให้ความสำคัญกับการบริหารจัดการกองทุนอย่างมีประสิทธิภาพ และควรมีการส่งเสริมให้สมาชิกได้รู้จักการบริหารจัดการชีวิตตนเองอย่างเหมาะสม รู้จักความพอประมาณตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีความเป็นอยู่อย่างเหมาะสมตามอัตภาพของตนเอง รู้จักกำหนดรายได้และรายจ่าย ประหยัดมัธยัสถ์ อดออม ดำเนินชีวิตด้วยความไม่ประมาท
บรรณานุกรม
จินตนา กาศมณี. (2557). “การจัดสวัสดิการชุมชนโดยภาคประชาชนในกรุงเทพมหานคร:กรณีศึกษา เครือข่ายกองทุนสวัสดิการชุมชน เขตคันนายาว”. ดุษฎีนิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต. คณะศิลปศาสตร์: มหาวิทยาลัยเกริก.
ชัยวัชน์ หน่อรัตน์. (2546). เศรษฐกิจและสวัสดิการชุมชน: การบริหารที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน. กรุงเทพมหานคร: สร้างสรรค์.
ณรงค์ วันดี. (2542). “สวัสดิการสังคม”. ใน โครงการตำราวิชาการเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวโรกาสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมพรรษา 6 รอบ พุทธสักราช 2542. 1กรุงเทพมหานคร: สำนักงานสภาสถาบันราชภัฏ.
ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ. (2549). สวัสดิการสังคม ในมิติกินดีอยู่ดีมีสุข มีสิทธิ. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมือง คณะเศรษฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณัฐพล ธาระวงศ์. (2559). “การศึกษาแนวทางการประยุกต์ใช้หลักทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์เพื่อการทำงานที่มีประสิทธิภาพของบุคลากรหน่วยงานของรัฐในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
นริศรินทร พันธเพชร. (2554). “ความสำเร็จของกองทุนสวัสดิการชุมชน : กรณีศึกษากองทุนสวัสดิการชุมชนของโรงสีชมรมรักษ์ธรรมชาตินาโส่ อำเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร”. รายงานการศึกษาอิสระรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ทัศนีย์ ลักขณาภิชนชัช. (2545). การใช้ทรัพยากรในงานสวัสดิการสังคม. กรุงเทพมหานคร: สมชายการพิมพ์.
พระครูปลัดสิวริศร์ สุทฺธิมโน (ด่านประสิทธิ์) สิทธิโชค ปาณะศรี และ พระครูโฆสิตวัฒนานุกูล. (2563). “การประยุกต์ใช้หลักทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์เพื่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ในสังคมบริโภคนิยม”. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์. 7 (4): 147.
พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช). (2548). คำวัด. กรุงเทพมหานคร: เลี่ยงเชียง.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2547). ธรรมนูญชีวิต. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์การ ศาสนา.
พิศณุพงศ์ กล้ากสิกิจ. (2562). “ต้นแบบการพัฒนาประสิทธิผลการบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ในจังหวัดกำแพงเพชร”. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สรัญญา แสงอัมพร. (2561). “การใช้หลักทิฏฐธัมมิกัตถะเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจชุมชน : กรณีศึกษาชุมชนมะม่วงปลายแขน ตำบลท่างิ้ว อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช”. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์. 8 (3) : 413-414.
สลิลทิพย์ เชียงทอง และ อินทิรา วิทยสมบูรณ์. (2552). คู่มือการดำเนินงาน โครงการสนับสนุนการจัดสวัสดิการชุมชน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แอ๊ปป้า พริ้นติ้ง กรุ๊ป จำกัด.
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน. (2552). คู่มือการดำเนินงาน โครงการสนับสนุนการจัดสวัสดิการชุมชน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แอ๊ปป้า พริ้นติ้ง กรุ๊ป จำกัด.
สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. (2554). “สู่ระบบสวัสดิการสังคมถ้วนหน้าภายในปี พ.ศ. 2560”. รายงานฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย.
อภิญญา เวชยชัย และ ศิริพร ยอดกมลศาสตร์. (2546). สวัสดิการสังคม ฉบับชาวบ้าน. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์การศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมือง คณะเศรษฐศาสตร์จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
Henderson, Richard I. (2000). Compensation management: rewarding performance. 8th ed. Englewood Cliffs, N.J. : Prentice Hall.
Milkovich, George T, Newman, Jerry M , & Gerhart, Barry A. (2011). Compensation. 10th ed. Boston : McGraw-Hill.