ปัจจัยที่ส่งเสริมในการดำรงสมณะเพศให้ยั่งยืน
คำสำคัญ:
พระสงฆ์, สมณเพศ, พระพุทธศาสนา
บทคัดย่อ
บทความนี้เป็นบทความวิชาการ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยและอุปสรรคการดำรงสมณเพศของพระสงฆ์ จากการศึกษาพบว่า การบวชพระในประเทศไทยนั้นเป็นประเพณีนิยมมาตั้งแต่อดีต นับแต่พระพุทธศาสนาเข้าในประเทศไทยแล้ว พระสงฆ์ได้รับการอุปถัมภ์ดูแลจากรัฐ ในฐานะเป็นองค์ประกอบของสถาบันหลักของชาติ คือ สถาบันศาสนา ปัจจัยที่ส่งเสริมให้พระสงฆ์ดำรงสมณเพศได้นั้นมี 4 ประการ คือ 1. การศึกษา 2. ความศรัทธา 3. ภาระหน้าในด้านคณะสงฆ์ และ 4. รักษาจารีตประเพณี แต่ในปัจจุบันนี้พบว่า พระสงฆ์ในประเทศไทยมีจำนวนลดลงอย่างต่อเนื่องทุกปี ซึ่งเกิดจากอุปสรรคที่ขัดขวางการดำรงสมณเพศ 4 ประการได้แก่ 1. ปัญหาสุขภาพ 2. ปัญหาด้านครอบครัว 3. ความเบื่อหน่าย และ 4. กฎระเบียบของคณะสงฆ์
บรรณานุกรม
พระมหาทวี วิสารโท. (2560). “การบวชเป็นศาสนทายาทในพุทธศาสนาแบบเถรวาท”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. 6 (1) : 15-25.
มณี พะยอมยงค์. (2537). ประเพณีสิบสองเดือนล้านนาไทย. เชียงใหม่: ส.ทรัพย์การพิมพ์.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มานิตย์ จุมปา. (2548). “สังคมและความประพฤติ”. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมาย. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มณี พะยอมยงค์. (2537). ประเพณีสิบสองเดือนล้านนาไทย. เชียงใหม่: ส.ทรัพย์การพิมพ์.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มานิตย์ จุมปา. (2548). “สังคมและความประพฤติ”. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมาย. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เผยแพร่แล้ว
2023-06-30