การประยุกต์ใช้หลักสาราณียธรรมในการสร้างองค์กรแห่งความสุข
คำสำคัญ:
หลักสาราณียธรรม, องค์กรแห่งความสุข, พระพุทธศาสนา
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้หลักสาราณียธรรมในการสร้างองค์กรแห่งความสุข เป็นการศึกษาเชิงเอกสาร ผลการศึกษาพบว่า หลักสาราณียธรรมประกอบด้วย เมตตากายกรรม เมตตาวจีกรรม เมตตามโนกรรม สาธารณโภคี สีลสามัญญตา และทิฏฐิสามัญญตา หลักสาราณียธรรมสามารถนำมาเป็นตัวขับเคลื่อนกระบวนการสร้างองค์กรแห่งความสุขให้เกิดขึ้นและประสบผลสำเร็จทั้งทางร่างกายและจิตใจ เนื่องจากเป็นหลักธรรมที่เป็นเหตุให้นึกถึงกัน เสริมสร้างความสัมพันธ์กับผู้อื่นที่เป็นเพื่อนร่วมงาน ร่วมกิจการ หรือร่วมชุมชน ตลอดจนพี่น้องร่วมครอบครัว พึงปฏิบัติตามหลักการอยู่ร่วมกัน หากนำหลักธรรมนี้มาประยุกต์ใช้จะสามารถเสริมสร้างความสามัคคีและสันติสุขในองค์กรได้
บรรณานุกรม
ชัยเสฏฐ์ พรหมศรี. การจัดการความขัดแย้งในองค์การ. กรุงเทพมหานคร: เอ็กซเปอร์เน็ท.
ณัฐนิชา กังสดาลทิพย์. (2564). “ผู้นำกับการจัดการความขัดแย้งภายในองค์กร”. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มมร. วิทยาเขตอีสาน. 2 (1) : 39-49.
บุญเลิศ เย็นคงคา และคณะ. (2549). การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management). พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร: BK การพิมพ์.
พะยอม วงศ์สารศรี. (2542). องค์การและการจัดการ. กรุงเทพมหานคร: พรานนกการพิมพ์.
พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2549). พุทธวิธีบริหาร. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธวัชชัย ชยวุฑฺโฒ และคณะ. (2565). “รูปแบบองค์กรแห่งความสุขตามหลักสาราณียธรรมของวิทยาลัยสงฆ์ลำพูน”. วารสาร ปัญญา. 29 (3) : 3.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2550). คู่มือชีวิต. พิมพ์ครั้งที่ 14. กรุงเทพมหานคร: พิมพ์สวย.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2556). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 24. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์พระพุทธศาสนาของธรรมสภา.
พระปลัดบุญมี คุณากโร (โพธิศรีสม). (2563). “การศึกษาวิเคราะห์การใช้หลักสาราณียธรรมในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติของชุมชนเทศบาลเมืองปาดังเบซาร์ จังหวัดสงขลา”. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์. 7 (4) : 132-143.
พระมหาทองสุข ธมฺมสุนฺทโร (แก้ววังวร), ประจิตร มหาหิง และสุนทร สายคำ. (2564). “บริหารแบบมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารสถานศึกษาตาม หลักสาราณียธรรม 6 โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา จังหวัดมหาสารคาม”. Journal of Modern Learning Development. 6 (1) : 347-348.
พระมหาธรรมรัต อริยธมฺโม. (2543). “การศึกษาเชิงวิเคราะห์หลักรัฐศาสตร์ที่มีในพระไตรปิฎก”.วิทยานิพนธ์ศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.
พระมหาประเสริฐ สุเมโธ (เพชรศรี) และปิยวัฒน์ คงทรัพย์. “สาราณียธรรม: หลักธรรมในการแก้ปัญหาความขัดแย้งในสังคมไทย”. วารสารวิจัยเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. 3 (2) : 21-29.
พระมหาไพฑูรย์ จิตฺตทนฺโต (ลุนพันธ์). (2555). “การนำหลักสาราณียธรรมไปใช้ในการปฏิบัติงานของบุคคลากรทางการศึกษา โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนสามัญศึกษา ในเขตจังหวัดร้อยเอ็ด”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี). (2553). ความทุกข์มาโปรด ความสุขโปรยปราย. กรุงเทพมหานคร: พิมพ์ปราณ.
พุทธทาสภิกขุ. (2542). ความสุขสามระดับ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สุขภาพใจ.
วรรณพร บุญรัตน์. (2560). “แนวโน้มการพัฒนาองค์กรแห่งความสุขของวิทยาลัยสงฆ์ลำพูน”. วารสาร มจร หริภุญชัยปริทรรศน์. 1 (1) : 75-76.
สุภัสรา จิตต์ธรรม. (2566). “การสร้างองค์กรแห่งความสุขโดยใช้พรหมวิหารสี่ตามแนวพุทธจิตวิทยา”. วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์. 9 (1) : 444.
Herzberg Frederick. (1991). A Harvard Business Review Paperback : Motivation. Massachusetts: Harvard Business School.
Lama Dalai. (1998). The Art Happiness at Work. New York: Riverhead Books.
Mgronline. (2566). สาราณียธรรม 6 : หลักการในการอยู่ร่วมกัน. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : https://mgronline.com/daily/detail/9620000029668/ [9 ตุลาคม 2566].
ณัฐนิชา กังสดาลทิพย์. (2564). “ผู้นำกับการจัดการความขัดแย้งภายในองค์กร”. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มมร. วิทยาเขตอีสาน. 2 (1) : 39-49.
บุญเลิศ เย็นคงคา และคณะ. (2549). การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management). พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร: BK การพิมพ์.
พะยอม วงศ์สารศรี. (2542). องค์การและการจัดการ. กรุงเทพมหานคร: พรานนกการพิมพ์.
พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2549). พุทธวิธีบริหาร. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธวัชชัย ชยวุฑฺโฒ และคณะ. (2565). “รูปแบบองค์กรแห่งความสุขตามหลักสาราณียธรรมของวิทยาลัยสงฆ์ลำพูน”. วารสาร ปัญญา. 29 (3) : 3.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2550). คู่มือชีวิต. พิมพ์ครั้งที่ 14. กรุงเทพมหานคร: พิมพ์สวย.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2556). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 24. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์พระพุทธศาสนาของธรรมสภา.
พระปลัดบุญมี คุณากโร (โพธิศรีสม). (2563). “การศึกษาวิเคราะห์การใช้หลักสาราณียธรรมในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติของชุมชนเทศบาลเมืองปาดังเบซาร์ จังหวัดสงขลา”. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์. 7 (4) : 132-143.
พระมหาทองสุข ธมฺมสุนฺทโร (แก้ววังวร), ประจิตร มหาหิง และสุนทร สายคำ. (2564). “บริหารแบบมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารสถานศึกษาตาม หลักสาราณียธรรม 6 โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา จังหวัดมหาสารคาม”. Journal of Modern Learning Development. 6 (1) : 347-348.
พระมหาธรรมรัต อริยธมฺโม. (2543). “การศึกษาเชิงวิเคราะห์หลักรัฐศาสตร์ที่มีในพระไตรปิฎก”.วิทยานิพนธ์ศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.
พระมหาประเสริฐ สุเมโธ (เพชรศรี) และปิยวัฒน์ คงทรัพย์. “สาราณียธรรม: หลักธรรมในการแก้ปัญหาความขัดแย้งในสังคมไทย”. วารสารวิจัยเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. 3 (2) : 21-29.
พระมหาไพฑูรย์ จิตฺตทนฺโต (ลุนพันธ์). (2555). “การนำหลักสาราณียธรรมไปใช้ในการปฏิบัติงานของบุคคลากรทางการศึกษา โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนสามัญศึกษา ในเขตจังหวัดร้อยเอ็ด”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี). (2553). ความทุกข์มาโปรด ความสุขโปรยปราย. กรุงเทพมหานคร: พิมพ์ปราณ.
พุทธทาสภิกขุ. (2542). ความสุขสามระดับ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สุขภาพใจ.
วรรณพร บุญรัตน์. (2560). “แนวโน้มการพัฒนาองค์กรแห่งความสุขของวิทยาลัยสงฆ์ลำพูน”. วารสาร มจร หริภุญชัยปริทรรศน์. 1 (1) : 75-76.
สุภัสรา จิตต์ธรรม. (2566). “การสร้างองค์กรแห่งความสุขโดยใช้พรหมวิหารสี่ตามแนวพุทธจิตวิทยา”. วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์. 9 (1) : 444.
Herzberg Frederick. (1991). A Harvard Business Review Paperback : Motivation. Massachusetts: Harvard Business School.
Lama Dalai. (1998). The Art Happiness at Work. New York: Riverhead Books.
Mgronline. (2566). สาราณียธรรม 6 : หลักการในการอยู่ร่วมกัน. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : https://mgronline.com/daily/detail/9620000029668/ [9 ตุลาคม 2566].
เผยแพร่แล้ว
2023-06-30