การกำเนิดและวิวัฒนาการของยันต์ในล้านนา
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1. เพื่อศึกษาวิวัฒนาการและการกำเนิดของยันต์ในล้านนา และ 2. เพื่อวิเคราะห์หลักพุทธธรรมที่ปรากฏในยันต์ล้านนา เป็นการวิจัยเชิงเอกสาร ผลการวิจัยพบว่า พัฒนาการของยันต์ที่ปรากฏในสังคมล้านนาได้รับอิทธิพลความเชื่อจากทางศาสนาพุทธและศาสนาพราหมณ์มาตั้งแต่โบราณ และผสมผสานกับศาสนาผีดั้งเดิมในพื้นที่ ทำให้เกิดพิธีกรรมความเชื่อเพื่อต่อรองกับอำนาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ยันต์เป็นสัญลักษณ์ภาพแทนของพิธีกรรมในสังคมล้านนาและนำเอาอักษรธรรมล้านนามาใช้มาลงเขียนยันต์ หลักพุทธธรรมที่ปรากฏในยันต์ล้านนา พบว่า มีหลักพุทธธรรมพื้นฐาน ดังเช่น หลักศีล 5 บทสรรเสริญพระรัตนตรัย หลักพุทธคุณ 9 เป็นหลักธรรมเบื้องต้นที่พบการนำเอาอักษรย่อของแต่ละหลักธรรมมาลงอักขระยันต์ และพบว่าผู้ทำพิธีเขียนยันต์ ได้ยึดหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาในการประกอบทำยันต์ เช่น ไตรสิกขา พรหมวิหาร ฆราวาส และสังคหวัตถุ เป็นต้น
บรรณานุกรม
มณี พะยอมยงค์. (2543). ประเพณีสิบสองเดือนล้านนาไทย. พิมพ์ครั้งที่ 4. เชียงใหม่: ส.ทรัพย์การพิมพ์.
ณัฐธัญ มณีรัตน์. (2553). เลขยันต์ แผนผังอันศักดิ์สิทธิ์. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร: นามมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.
ปวงคำ ตุ้ยเขียว. (2542). สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคเหนือ เล่มที่ 11. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์.
อินสม ไชยชมภู. (2552). ยันต์และคาถาของดีเมืองเหนือ. ลำพูน: ร้านภิญโญ.
สุจิตต์ วงศ์เทศ. (2560). วัฒนธรรมร่วมอุษาคเนย์ในอาเซียน. พิมพ์ครั้งที่ 2.
กรุงเทพมหานคร:เรือนแก้วการพิมพ์.
พระพิษณุพล สุวณฺณรูโป (รูปทอง). (2554). “การศึกษาหลักพุทธธรรมและคุณค่าที่ปรากฏยันต์เทียนล้านนา: กรณีศึกษาเฉพาะในเขตอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
เกรียงไกร เกิดศิริ. (2551). พุกาม: การก่อรูปของสถาปัตยกรรมจากก้อนอิฐแห่งความศรัทธา. กรุงเทพมหานคร: อุษาคเนย์.
สามเณรธีทัต แจ้ใจ. (2559). “วิเคราะห์บทบาทการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของครูบาอภิชัยขาวปี”.วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
เสมอชัย พูลสุวรรณ. (2560). รัฐฉาน(เมืองไต) พลวัตชาติพันธุ์ในบริบทประวัติศาสตร์และสังคมการเมืองร่วมสมัย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).
วทัญญู ฟักทอง. (2555). “จารึกพระมหาราชครูเชียงใหม่”. รวบรวมโดย อรพินท์ คำสอน และธิษณา วีรเกียรติสุนทร. กรุงเทพมหานคร: ศักดิโสภาการพิมพ์.
วรรธนะ มูลขำ. (2545). “ร่องรอยและอิทธิพลของคติพุทธศาสนามหายานที่มีต่อความเชื่อและพิธีกรรมพื้นบ้านในจังหวัดเชียงใหม่”. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศิลปากร.