แนวทางการลด ละ เลิก การดื่มสุราในคัมภีร์พระพุทธศาสนา
คำสำคัญ:
การงดเว้นสุรา
บทคัดย่อ
บทความนี้เป็นบทความวิจัย มีวัตถุประสงค์ 2 ข้อ คือ 1. เพื่อศึกษาคำสอนที่เกี่ยวกับสุราที่ปรากฏในพระไตรปิฎก และ 2. เพื่อวิเคราะห์แนวทางการลด ละ เลิก การดื่มสุราในพระไตรปิฎก เป็นการวิจัยเชิงเอกสาร โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก ฉบับภาษาไทย ผลการวิจัยพบว่า ในพระไตรปิฎกมีคำสอนเกี่ยวกับการดื่มสุราและโทษของการดื่มสุราเป็นจำนวนมาก เช่นใน สิงคาลกสูตร อบายมุข เป็นต้น เนื่องจากพระพุทธศาสนาให้ความสำคัญของการงดดื่มสุรา และได้กำหนดให้การงดจากการดื่มสุราเป็นคุณธรรมพื้นฐานของการดำเนินชีวิต ที่เรียกว่า ศีล 5 สำหรับแนวทางการลด ละ เลิก การดื่มสุราในพระไตรปิฎกนั้น ปรากฏในคำสอนเรื่องเบญจธรรม หมวดความไม่ประมาท โดยการประยุกต์ใช้หลักการมีสติสัมปชัญญะเป็นแนวทางการดำเนินชีวิต
บรรณานุกรม
บัณฑิดา ศุพุทธมงคล. (2558). “การนำเบญจศีล-เบญจธรรมพัฒนานักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มโรงเรียนปากอ่าวเจ้าพระยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระทวีป กลฺยาณธมฺโม (เล็กบัณฑิตย์). (2552). “การศึกษาวิเคราะห์หลักกัลยาณธรรมสำหรับการดำรงชีวิตที่ปรากฏในคัมภีร์พระพุทธศาสนา”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2532). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระพรหมโมลี (วิลาส ญาณธโร). (2544). กรรมทีปนี เล่ม 2. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิธรรมกาย.
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ. (2539). ปรมัตถโชติกะ มหาอภิธัมมัตถสังคหฎีกา ปริเฉทที่ 5 เล่ม 2. กรุงเทพมหานคร: ทิพยวิสุทธิ์.
ไพฑูรย์ แก้วเขียว. (2541). “พุทธจริยธรรมกับการดื่มสุราของชาวไทยพุทธ ศึกษาเฉพาะกรณีชาวไทยพุทธ ในกรุงเทพมหานคร”. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจริยศาสตร์ศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหิดล.
สมคิด เศษวงศ์. (2560). “พุทธบูรณาการในการบำบัดผู้ติดสุราของศูนย์บำบัดผู้ติดยาเสพติดในวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ”. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์. 13 (พิเศษ 1) : 120-133.
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก. (2553). วิธีสร้างบุญบารมี. กรุงเทพมหานคร: ชมรมกัลยาณธรรม.
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. (2520). เบญจศีล-เบญจธรรม. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
สุนทร อาจนิยมและคณะ. (2562). “รูปแบบการประยุกต์ใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเพื่อแก้ปัญหาการดื่มสุราของประชาชนภาคอีสานตอนกลาง”. วารสารสถาบันวิจัยพิมลธรรม. 6 (1) : 24-36
ไสว มาลาทอง. คู่มือการศึกษาจริยธรรมสำหรับนักเรียน นิสิต นักศึกษา นักบริหาร นักปกครองและประชาชนทั่วไป. หน้า 120.
พระทวีป กลฺยาณธมฺโม (เล็กบัณฑิตย์). (2552). “การศึกษาวิเคราะห์หลักกัลยาณธรรมสำหรับการดำรงชีวิตที่ปรากฏในคัมภีร์พระพุทธศาสนา”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2532). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระพรหมโมลี (วิลาส ญาณธโร). (2544). กรรมทีปนี เล่ม 2. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิธรรมกาย.
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ. (2539). ปรมัตถโชติกะ มหาอภิธัมมัตถสังคหฎีกา ปริเฉทที่ 5 เล่ม 2. กรุงเทพมหานคร: ทิพยวิสุทธิ์.
ไพฑูรย์ แก้วเขียว. (2541). “พุทธจริยธรรมกับการดื่มสุราของชาวไทยพุทธ ศึกษาเฉพาะกรณีชาวไทยพุทธ ในกรุงเทพมหานคร”. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจริยศาสตร์ศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหิดล.
สมคิด เศษวงศ์. (2560). “พุทธบูรณาการในการบำบัดผู้ติดสุราของศูนย์บำบัดผู้ติดยาเสพติดในวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ”. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์. 13 (พิเศษ 1) : 120-133.
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก. (2553). วิธีสร้างบุญบารมี. กรุงเทพมหานคร: ชมรมกัลยาณธรรม.
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. (2520). เบญจศีล-เบญจธรรม. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
สุนทร อาจนิยมและคณะ. (2562). “รูปแบบการประยุกต์ใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเพื่อแก้ปัญหาการดื่มสุราของประชาชนภาคอีสานตอนกลาง”. วารสารสถาบันวิจัยพิมลธรรม. 6 (1) : 24-36
ไสว มาลาทอง. คู่มือการศึกษาจริยธรรมสำหรับนักเรียน นิสิต นักศึกษา นักบริหาร นักปกครองและประชาชนทั่วไป. หน้า 120.
เผยแพร่แล้ว
2022-12-30
บท
Research Article