https://firstojs.com/index.php/MBU/issue/feed“พระพุทธศาสนากับปัญญาประดิษฐ์”2025-03-31T08:55:18+00:00ผศ.ดร.อุเทน ลาพิงค์Khunten2002@yahoo.comOpen Journal Systemshttps://firstojs.com/index.php/MBU/article/view/1529การพัฒนาทักษะการอ่านและเขียนคำพื้นฐาน โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบบันได 6 ขั้น ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านนามน อำเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่2025-03-29T04:38:08+00:00เกศรา พะยิkesraphayi26@gmail.comอรรถพงษ์ ผิวเหลืองkesraphayi26@gmail.com<p>บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อทดสอบประสิทธิภาพแบบฝึกทักษะการอ่านและเขียน คำพื้นฐาน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านนามน ตามเกณฑ์มาตรฐาน 85/85 2) เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านและเขียนคำพื้นฐาน โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบบันได 6 ขั้น ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านนามน ก่อนเรียนและหลังเรียน 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบบันได 6 ขั้น กลุ่มทดลอง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยการเลือกแบบสุ่มอย่างง่าย รูปแบบการวิจัยกึ่งทดลอง ด้วยวิธีการใช้กลุ่มทดลองกลุ่มเดียว เพื่อวัดผลก่อนและหลังการทดลอง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ S.D. ร้อยละ และสถิติทดสอบค่า t-test</p> <p> ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการทดสอบประสิทธิภาพแบบฝึกทักษะการอ่านและเขียนคำพื้นฐาน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านนามน มีประสิทธิภาพ 87.65/89.13 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด 2) ผลการพัฒนาทักษะการอ่านและเขียนคำพื้นฐาน โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบบันได 6 ขั้น ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านนามน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 3) ผลความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบบันได 6 ขั้น อยู่ในระดับมาก = 3.70</p>2025-03-05T09:51:26+00:00##submission.copyrightStatement##https://firstojs.com/index.php/MBU/article/view/1539DEVELOPMENT OF READING AND WRITING SKILL IN THAI ORTHOGRAPHIC RULES BY INQUIRY-BASED LEARNING OF GRADE 2 STUDENTS AT BAN ARUNOTHAI SCHOOL2025-03-30T01:49:59+00:00Suphatraphong Khunyotyingqazttt1234@gmail.comAtthaphong Phiwhluengqazttt1234@gmail.comTidarat Leungtriratqazttt1234@gmail.com<p>This research article aims to: 1) to evaluate the effectiveness of a reading and writing practice module focusing on Thai orthographic rules among Grade 2 students at Ban Arunothai School based on the 70/70 standard criterion; 2) to enhance reading and writing skills in Thai orthography through inquiry-based learning among Grade 2 students at Ban Arunothai School before and after the intervention; and 3) to examine the satisfaction of Grade 2 students towards the inquiry-based learning approach. The sample group consisted of Grade 2 students from Ban Arunothai School, selected using simple random sampling. This study employed a quasi-experimental design with a single-group pretest-posttest approach. Research instruments included lesson plans, pretest and posttest assessments, and a student satisfaction questionnaire. Data were analyzed using basic statistics, including mean, standard deviation, percentage, and a dependent sample t-test.</p> <p>The findings of the study revealed that: 1) The effectiveness of the reading and writing practice module focusing on Thai orthographic rules for Grade 2 students at Ban Arunothai School was 98.71/75.00, exceeding the set standard criterion, 2) The development of reading and writing skills in Thai orthography using the inquiry-based learning approach among Grade 2 students at Ban Arunothai School showed a statistically significant improvement after the intervention compared to before, at the .05 level, and 3) The satisfaction of Grade 2 students towards the inquiry-based learning approach was at the highest level ( = 4.65, S.D. = 0.88).</p>2025-03-05T10:10:39+00:00##submission.copyrightStatement##https://firstojs.com/index.php/MBU/article/view/1545พฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักศึกษาสาขาวิชาการปกครอง มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา2025-03-31T01:11:46+00:00สุมาลี พงศ์ไพรสัณฑ์sumaliphngsphirsanth@gmail.comพระปฏิญญา พูนเปรี่ยม (สุปฏิญาโน)sumaliphngsphirsanth@gmail.comเกศรา จักรมหาสกุลsumaliphngsphirsanth@gmail.comอัญชลี แสงเพชรsumaliphngsphirsanth@gmail.com<p>บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนและเพื่อศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักศึกษาสาขาวิชาการปกครอง มหาวิทยามหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา โดยมีกลุ่มตัวอย่างในการศึกษา คือ นักศึกษาที่ชั้นปีที่ 3 สาขาการปกครอง มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา จำนวน 21 คน โดยเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาผ่านแบบสอบถาม ซึ่งสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน</p> <p><strong>ผลการวิจัยพบว่า</strong> นักศึกษามีความคิดเห็นเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟน โดยรวมทั้ง 5 ด้าน มีค่าแปลผลอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดได้แก่ด้านลักษณะพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนซึ่งมีค่าแปลผลอยู่ในระดับมาก รองลงมาได้แก่ด้านอิทธิพลที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟน และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดได้แก่ด้านความเสี่ยงในการใช้สมาร์ทโฟน</p>2025-03-09T05:53:16+00:00##submission.copyrightStatement##https://firstojs.com/index.php/MBU/article/view/1544การศึกษาสุขภาพจิตของนักศึกษา ชั้นปีที่ 3 ภาคปกติคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา2025-03-29T04:38:08+00:00พัชรี มงคลปัญญากุลnktelecom0118@gmail.comเขมาพร สุนิธิมงคลชัยnktelecom0118@gmail.comพระสถิต ถิรจิตฺโต (จ่าหลิ่ง)nktelecom0118@gmail.comอัญชลี แสงเพชรnktelecom0118@gmail.com<p>บทความวิจัยเรื่องการศึกษาสุขภาพจิตของนักศึกษาชั้นปีที่ 3 ภาคปกติ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนานี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสุขภาพจิตของนักศึกษาชั้นปีที่ 3 ภาคปกติ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา 2) เพื่อศึกษาปัจจัยทีมีอิทธิพลต่อสุขภาพจิตของนักศึกษาฯ และ 3) เพื่อศึกษาเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตของนักศึกษาฯ โดยมีกลุ่มตัวอย่างในการศึกษา คือ นักศึกษาที่ชั้นปีที่ 3 สาขาการปกครอง มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา จำนวน 21 คน โดยใช้แบบสอบถามเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ซึ่งสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ค่าร้อยละ, ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน</p> <p><strong>ผลการวิจัยพบว่า</strong></p> <p>สุขภาพจิตของนักศึกษาอยู่ในระดับดี ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพจิต เช่น ความรู้สึกพึงพอใจในชีวิต ความรู้สึกกังวลใจ ปัญหาส่วนตัว เพื่อนรอบข้าง การเรียน และข้อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหา เช่น การเสริมสร้างกิจกรรมที่ช่วยให้ผู้เรียนรู้สึกสดชื่นและมีความพึงพอใจในชีวิต เช่น การทำกิจกรรมกลุ่ม การให้คำปรึกษาทางจิตวิทยา และการฝึกทักษะการจัดการอารมณ์ดังนั้นทำให้เห็นว่าการศึกษาครั้งนี้มันส่งผลต่อคุณภาพชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยของนักศึกษาโดยเฉพาะชั้นปีที่ 3 ภาคปกติ ที่ทำการศึกษาเรื่องสุขภาพจิตเป็นต้น</p>2025-03-09T06:17:36+00:00##submission.copyrightStatement##https://firstojs.com/index.php/MBU/article/view/1543THE DEVELOPMENT OF ENGLISH READING TEXT SKILLS BY USING BRAIN-BASED LEARNING FOR GRADE 7 STUDENTS AT SANPATONGSUKSA SCHOOL2025-03-29T12:20:59+00:00Narongrit Wannapoolboatyoustop11@gmail.comAtthaphong Phiwhluengboatyoustop11@gmail.comBorreeluck Somboonchaiboatyoustop11@gmail.com<p>This research article aims to: 1) examine the effectiveness of the English text reading skill exercises for Grade 7 students at Sanpatongsuksa School based on the standard criteria of 70/70; 2) compare the learning outcomes in English text reading of Grade 7 students at Sanpatongsuksa School before and after using the Brain-Based Learning (BBL) approach; and 3) examine the satisfaction of Grade 7 students regarding the implementation of the Brain-Based Learning (BBL) approach. The sample group consisted of Grade 7 students from Sanpatongsuksa School, selected through simple random sampling. The research employed a quasi-experimental design with a single-group pretest-posttest method. The instruments used in the study included lesson plans, pretest and posttest assessments, and a student satisfaction questionnaire. Data were analyzed using basic statistics, including mean, standard deviation, percentage, and t-test statistics.</p> <p>The results revealed that: 1) The effectiveness of the English text reading skill development exercises for Grade 7 students at Sanpatongsuksa School was 73.67/80.33, exceeding the predetermined standard criteria; 2) The comparison of learning achievement in English text reading using brain-based learning showed a statistically significant improvement at the .05 level after the instruction; and 3) The satisfaction of Grade 7 students with Brain-Based Learning (BBL) revealed that the students at Sanpatongsuksa School were highly satisfied with the BBL approach overall. The average satisfaction score was at a high level ( = 4.38, S.D. = 0.63).</p>2025-03-09T06:58:26+00:00##submission.copyrightStatement##https://firstojs.com/index.php/MBU/article/view/1542DEVELOPMENT OF ENGLISH PRONUNCIATION AND SPELLING SKILL BY USING BRAIN-BASED LEARNING OF GRADE 3 STUDENTS AT BANDONGDUM SCHOOL2025-03-30T02:39:30+00:00Kanyarat Khirikanokkhiaokhiri2544@gmail.comNopparat Kantapikulkhiri2544@gmail.comSangad Chienjuntukkhiri2544@gmail.com<p>This research aims to: 1) test the effectiveness of the English pronunciation and spelling skill practice test of Grade 3 students at Bandongdum School according to the 70/70 standard, 2) compare the achievement in English pronunciation and spelling before and after learning using the brain-based learning management approach for Grade 3 students at Bandongdum School, and 3) investigate the satisfaction of Grade 3 students with the brain-based learning management approach. The experimental group consists of Grade 3 students at Bandongdum School, selected through simple random sampling. This research adopts a quasi-experimental design using a single experimental group to measure pre- and post-test results. The research tools include a lesson plan, pre- and post-tests, and a student satisfaction questionnaire. The data were analyzed using basic statistical methods, including mean, standard deviation, percentage, and t-test.</p> <p>The research findings are as follows: 1) The results of the English pronunciation and spelling skill practice test of grade 3 students at Bandongdum school were 72.86/76.19, which was higher than the specified standard. 2) The English pronunciation and spelling achievement using brain-based learning management after studying was significantly higher than before studying at the .05 level. 3) The students' satisfaction with brain-based learning management was at the highest level.</p>2025-03-09T07:44:47+00:00##submission.copyrightStatement##https://firstojs.com/index.php/MBU/article/view/1538The DEVELOPMENT OF ENGLISH VOCABULARY PRONUNCIATION SKILLS USING BRAIN-BASED LEARNING FOR GRADE 5 STUDENTS AT WAT KHUANG SINGH SCHOOL2025-03-30T01:53:41+00:00Kamolwan Keereesuwanketkamonwan2545sa@gmail.comArkom Ukhotekamonwan2545sa@gmail.comMetha Solakamonwan2545sa@gmail.com<p>This research article aimed to: 1) test the effectiveness of English vocabulary pronunciation skill exercises for Grade 5 students at Wat Khuang Singh School based on the 70/70 standard criteria; 2) compare the learning achievement in English vocabulary pronunciation before and after instruction using brain-based learning (BBL) for Grade 5 students at Wat Khuang Singh School; and 3) examine the satisfaction of Grade 5 students at Wat Khuang Sing School with the Brain-Based Learning (BBL) approach. The sample consisted of Grade 5 students from Wat Khuang Singh School, selected through simple random sampling. The study employed a quasi-experimental design with a single-group pretest-posttest method. Research instruments included lesson plans, pretest and posttest assessments, and a student satisfaction questionnaire. Data were analyzed using basic statistical methods, including mean, standard deviation, percentage, and dependent sample t-tests.</p> <p>The findings revealed that: 1) the efficiency of the English vocabulary pronunciation skill exercises achieved a level of 82.61/82.11, surpassing the standard criterion of 70/70; 2) students' learning achievement in English vocabulary pronunciation after instruction using the brain-based learning approach was significantly higher than before at the .05 level; and 3) students' satisfaction with the brain-based learning approach was at the highest level (= 4.69, S.D. = 0.53).</p>2025-03-09T08:27:08+00:00##submission.copyrightStatement##https://firstojs.com/index.php/MBU/article/view/1535DEVELOPMENT OF ENGLISH VOCABULARY READING SKILL USING BRAIN-BASED LEARNING FOR GRADE 6 STUDENTS AT THAIRATHWITTAYA 79 (BAN NONG AB CHANG)2025-03-30T02:43:39+00:00Arunya Prayunwiangkanarunya29@gmail.comNarongsak Lunsamrongkanarunya29@gmail.comSurakiart Boonmatunkanarunya29@gmail.com2025-03-09T08:38:43+00:00##submission.copyrightStatement##https://firstojs.com/index.php/MBU/article/view/1534DEVELOPMENT OF ENGLISH TEXT READING SKILLS BY USING BRAIN-BASED LEARNING FOR GRADE 7 STUDENTS AT CHOOMCHONBANKAI SCHOOL2025-03-30T02:00:48+00:00Kanittha Kanthakhamgivekanthakham@gmail.comPhithak Faengkotgivekanthakham@gmail.comBoontham Peanchaipoomgivekanthakham@gmail.com<p>This research article aimed to: 1) test the effectiveness of English text reading skill practice exercises for Grade 7 students at Choomchonbankai School according to the standard criteria of 70/70. 2) compare the learning outcomes English text reading before and after using Brain-Based Learning (BBL) for Grade 7 students at Choomchonbankai School. And 3) examine the satisfaction of Grade 7 students regarding the Brain-Based Learning (BBL) approach. The sample group consisted of Grade 7 students at Choomchonbankai School, selected through purposive sampling. The research employed a quasi-experimental design using a single-group pretest-posttest method. Research instruments included lesson plans, pretest and posttest assessments, and a student satisfaction questionnaire. Data were analyzed using basic statistics, including mean, standard deviation, percentage, and t-test analysis.</p> <p>The research found that: 1) The efficiency of the English text reading skill practice exercises for Grade 7 students at Choomchonbankai School was 72.21/78.33, which exceeded the predetermined standard criteria. 2) The English text reading achievement of Grade 7 students at Choomchonbankai School improved significantly after using the Brain-Based Learning (BBL) approach, with a statistical significance level of .05.<strong> <br> </strong>3) The students' satisfaction with the Brain-Based Learning (BBL) approach was rated at a high level ( = 4.28, S.D. = 0.57)</p> <p> </p>2025-03-09T09:28:48+00:00##submission.copyrightStatement##https://firstojs.com/index.php/MBU/article/view/1559การศึกษาวิเคราะห์พุทธวิธีการสอนที่ปรากฏในสารัตถะ แห่งคัมภีร์มิลินทปัญหาสู่การถ่ายทอดผ่านสื่อสมัยใหม่2025-03-31T07:31:36+00:00จันทรัสม์ ตาปูลิงctapling@gmail.comสรวิชย์ วงศ์สอาดChantatat.ta@mcu.ac.thณฤณีย์ ศรีสุขchantarat.ta@mcu.ac.thพระปลัดธวัชชัย ขตฺติยเมธีchantarat.ta@mcu.ac.thสุชัย สิริรวีกูลchantarat.ta@mcu.ac.th<p>บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.ศึกษาประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของคัมภีร์มิลินทปัญหา 2. วิเคราะห์พุทธวิธีการสอนที่ปรากฎในสารัตถะแห่งคัมภีร์มิลินทปัญหา 3. นำเสนอพุทธวิธีการสอนที่ปรากฎในสารัตถะแห่งคัมภีร์มิลินทปัญหาผ่านสื่อสมัยใหม่ งานวิจัยนี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยเน้นกระบวนการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสาร (Documentary Research) ได้แก่ เอกสารชั้นปฐมภูมิ (Primary Source) และเอกสารชั้นทุติยภูมิ (Secondary Source) ทำการรวบรวม วิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า</p> <p>1. ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของคัมภีร์มิลินทปัญหา พบว่า คัมภีร์มิลินทปัญหาเกิดขึ้นในศตวรรษที่ 2 ก่อนคริสตกาลในดินแดนบาคเตรีย ซึ่งเป็นศูนย์กลางการค้าและวัฒนธรรม ระหว่างโลกตะวันตกและตะวันออก คัมภีร์บันทึกการสนทนาธรรมระหว่างพระเจ้ามิลินทร์ กษัตริย์เชื้อสายกรีก ผู้ทรงสนใจปรัชญา กับพระนาคเสน พระภิกษุผู้ทรงปัญญา การสนทนาเน้นการตั้งคำถามเชิงลึก เช่น เรื่องตัวตน การเกิดดับ และการเวียนว่ายตายเกิด การตอบคำถามใช้เหตุผล การเปรียบเทียบ และการแยกแยะประเด็น ทำให้ธรรมะที่ซับซ้อนเข้าใจได้ง่าย </p> <p>2. วิเคราะห์พุทธวิธีการสอนที่ปรากฏในสารัตถะแห่งคัมภีร์มิลินทปัญหา พบว่ามีลักษณะเด่น ได้แก่ การใช้อุปมาอุปไมย การแยกแยะประเด็น (วิภัชวาท) การถามย้อน (วิภาษวิธี) และการอธิบายธรรมะโดยใช้ตัวอย่างใกล้ตัว เน้นการพัฒนาปัญญาผ่านการคิดวิเคราะห์ ความสำคัญของ วิธีการเหล่านี้คือการเผยแผ่ธรรมะให้เข้าใจง่ายและเข้าถึงคนในวัฒนธรรมต่าง ๆ</p> <p>3. การนำพุทธวิธีการสอนที่ปรากฏในสารัตถะแห่งคัมภีร์มิลินทปัญหา ผ่านสื่อสมัยใหม่ พบว่า คัมภีร์<br> มิลินทปัญหาเน้นพุทธวิธีการสอนสามรูปแบบหลัก ได้แก่ วิภัชวาท (แยกประเด็น), อุปมา (เปรียบเทียบ), และปฏิปุจฉา (ถามโต้กลับ) โดยการนำเสนอผ่านสื่อดิจิทัล ได้แก่ E-book ที่แทรกภาพและวิดีโอ, YouTube วิดีโอถาม-ตอบและฉากจำลอง และ เว็บไซต์ที่ออกแบบ UX/UI ใช้งานง่าย การบูรณาการพุทธวิธีการสอนเข้ากับเทคโนโลยีดิจิทัลช่วยให้การเรียนรู้ธรรมะเป็นระบบ เข้าใจง่าย และเข้าถึงได้อย่างแพร่หลายมากขึ้น</p> <p> </p>2025-03-30T00:00:00+00:00##submission.copyrightStatement##https://firstojs.com/index.php/MBU/article/view/1532THE DEVELOPMENT OF ENGLISH READING ALOUD SKILLS USING BRAIN-BASED LEARNING FOR SECOND-YEAR SECONDARY SCHOOL STUDENTS AT WAT PHUTTHANIMIT WITTHAYA SCHOOL2025-03-29T12:16:54+00:00Poramad ChumyenKatezx160@gmail.comPhra Phithak Thanissarokatezx160@gmail.comSubin Uyenkatezx160@gmail.com<p>This research article aims to: 1) To evaluate the effectiveness of English reading-aloud practice exercises for Second-year students at Wat Phuttha Nimit Witthaya School according to the 70/70 standard. 2) To compare the learning achievement in reading-aloud skills using the Brain-Based Learning (BBL) approach among Second-year students at Wat Phuttha Nimit Witthaya School before and after learning. and 3) To assess the satisfaction of Second-year students at Wat Phuttha Nimit Witthaya School with the Brain-Based Learning (BBL) approach. The sample consisted of Second-year students selected through simple random sampling. The research design was a quasi-experimental one-group pretest-posttest design. Research instruments included instructional lesson plans, pretest and posttest evaluations, and a student satisfaction questionnaire. Data were analyzed using basic statistics, including mean, standard deviation, percentage, and a t-test.</p> <p>The research findings revealed that:</p> <p>1) The effectiveness of English reading-aloud practice exercises for Second-year students was 72.26/75.24, exceeding the predetermined 70/70 standard criteria.</p> <p>2) The learning achievement in English reading-aloud using brain-based learning for Second-year students after learning was significantly higher than before learning at the 0.05 significance level.</p> <p>3) The satisfaction of Second-year students with the brain-based learning approach was at the highest level.</p>2025-03-09T13:06:25+00:00##submission.copyrightStatement##https://firstojs.com/index.php/MBU/article/view/1527THE DEVELOPMENT OF ENGLISH VOCABULARY PRONUNCIATION SKILLS USING BRAIN-BASED LEARNING MANAGEMENT OF THE GRADE 8 STUDENTS AT WAT BAN KHUN TRIAM BHUDASAD SCHOOL2025-03-30T02:45:38+00:00Supanat PadungkarawekSupanatpadungkarawek@gmail.comNarongsak Lunsamrongtnchp.y@gmail.comSomphong Noitetnchp.y@gmail.com<p>This research article aims to achieve the following objectives: 1) to test the efficiency of English vocabulary pronunciation exercises for Grade 8 students at Wat Ban Khun Triem Bhudasad School against the 70/70 standard criteria, 2) to compare the achievement in English vocabulary pronunciation before and after implementing brain-based learning, and 3) to examine students’ satisfaction with brain-based learning. The sample group consisted of Grade 8 students from Wat Ban Khun Triem Bhudasad School, selected through simple random sampling. The research employed a quasi-experimental design using a single-group pretest-posttest method. Research instruments included lesson plans, pretest and posttest assessments, and a student satisfaction questionnaire. Data were analyzed using basic statistics such as mean, standard deviation, percentage, and t-test.</p> <p>The research findings revealed that:</p> <p>1) The efficiency of the English vocabulary pronunciation exercises for Grade 8 students at Wat Ban Khun Triem Bhudasad School was 70.56/70.14, exceeding the specified standard criteria.</p> <p>2)The achievement in English vocabulary pronunciation after using brain-based learning was significantly higher than before at the 0.05 level.</p> <p>3) Students’ satisfaction with brain-based learning was at a high level.</p>2025-03-09T13:18:12+00:00##submission.copyrightStatement##https://firstojs.com/index.php/MBU/article/view/1526THE DEVELOPMENT OF ENGLISH VOCABULARY PRONUNCIATION SKILLS THROUGH BRAIN-BASED LEARNING FOR GRADE 3 STUDENTS AT BAN BUAK PAO SCHOOL2025-03-29T12:18:34+00:00Parinyakorn Amornwiriyakunparinprin46@gmail.comPhra Phithak Faengkotparinprin46@gmail.comPiset Suksamarnparinprin46@gmail.com<p>This research aims to: 1) test the effectiveness of the English vocabulary pronunciation skill practice for grade 3 students at Ban Buak Pao School according to the 70/70 standard criteria; 2) compare the achievement in English vocabulary pronunciation before and after learning using brain-based learning management for grade 3 students at Ban Buak Pao School; and 3) examine the satisfaction of grade 3 students towards the brain-based learning management approach. The experimental group consisted of grade 3 students at Ban Buak Pao School, selected through simple random sampling. The research design was quasi-experimental, using a single-group pre-test and post-test approach. The research instruments included lesson plans, pre- and post-tests, and a student satisfaction survey. Data were analyzed using basic statistical methods, including mean, standard deviation, percentage, and t-test.</p> <p>The results of the research revealed that: 1) The effectiveness of the English vocabulary pronunciation skill practice for grade 3 students at Ban Buak Pao School was 74.78/73.77, which is higher than the standard criteria of 70/70; 2) The achievement in English vocabulary pronunciation after learning through brain-based learning management was significantly higher than before learning at the .05 level; and 3) The satisfaction of grade 3 students towards the brain-based learning management approach was at the highest level.</p> <p>Keywords: Pronunciation skills, Vocabulary, Brain-based learning management</p>2025-03-09T13:39:15+00:00##submission.copyrightStatement##https://firstojs.com/index.php/MBU/article/view/1531การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาเรื่อง พระพุทธศาสนา โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL)ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 62025-03-29T04:38:10+00:00เอกรัตน์ พนาโกเมนaeklovethoed@gmail.comวัชราภรณ์ จอมงามAeklovethoed@gmail.comพระมหาวีรศักดิ์ สุรเมธีAeklovethoed@gmail.com<p><strong>บทคัดย่อ </strong></p> <p> การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยรูปแบบการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-experimental research) มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อสร้างและทดสอบประสิทธิภาพชุดกิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาลวัดหมื่นเงินกองตามเกณฑ์มาตรฐาน75/75 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา เรื่อง พระพุทธศาสนา โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาลวัดหมื่นเงินกอง 3) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้การเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL) ประชากรได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1–6 โรงเรียนเทศบาลวัดหมื่นเงินกอง ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 155 คน ด้วยวิธีการใช้กลุ่มทดลองกลุ่มเดียว–วัดผลก่อนและหลังการทดลอง (One group Pretest - Posttest Design) สัญลักษณ์ (T1 - x - T2)</p>2025-03-09T13:56:11+00:00##submission.copyrightStatement##https://firstojs.com/index.php/MBU/article/view/1547บทบาทการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ในยุคดิจิทัล2025-03-29T04:38:10+00:00พระครูโกวิทอรรถวาที -chantarat.ta@mcu.ac.thจันทรัสม์ ตาปูลิงchantarat.ta@mcu.ac.thพระปลัดธวัชชัย ขตฺติยเมธีchantarat.ta@mcu.ac.th<p>บทความนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อนำเสนอการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในยุคดิจิทัล ซึ่งถือว่ามีความสำคัญอย่างยิ่ง เนื่องจากเทคโนโลยีและสื่อออนไลน์เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของผู้คน พระสงฆ์จึงต้องปรับตัวให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว บทความนี้ศึกษาบทบาทของพระสงฆ์ในการเผยแผ่พระธรรมผ่านสื่อดิจิทัล เช่น โซเชียลมีเดีย เว็บไซต์ และแอปพลิเคชัน เพื่อให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่หลากหลาย นอกจากนี้ ยังกล่าวถึงความท้าทายที่เกิดขึ้น เช่น การขาดความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี การเผชิญกับข้อมูลเท็จ และการแข่งขันในสื่อออนไลน์ บทความยังเสนอแนวทางพัฒนาบทบาทของพระสงฆ์ เช่น การอบรมทักษะด้านดิจิทัล การสร้างเครือข่ายพระสงฆ์ออนไลน์ และการใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมเพื่อรักษาคุณค่าและสาระของพระพุทธศาสนา</p>2025-03-10T03:51:28+00:00##submission.copyrightStatement##https://firstojs.com/index.php/MBU/article/view/1546สมาธิเพื่อสันติภาพโลก2025-03-31T01:06:37+00:00พระมหาสิทธิชัย เตชวณฺโณ (ธรรมสุจริต)mahasitthi@gmail.comพระครูสุธีปัญญาภรณ์ -mahasitthi@gmail.comพระพีรธรรม วีรธมฺโมmahasitthi@gmail.com<p>บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทของสมาธิในพุทธศาสนาเถรวาทที่ส่งเสริมสันติภาพในระดับบุคคล สังคม และโลก โดยวิเคราะห์จากหลักธรรมในพระไตรปิฎกและคัมภีร์อรรถกถา บทความเสนอว่าสมาธิเป็นเครื่องมือสำคัญในการลดความขัดแย้งภายในจิตใจ ซึ่งนำไปสู่ความเข้าใจและการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขในสังคม นอกจากนี้ ยังประยุกต์การใช้สมาธิในบริบทปัจจุบัน เช่น โครงการส่งเสริมสันติภาพระดับนานาชาติ ผลการศึกษาชี้ว่าสมาธิสามารถเป็นรากฐานสำคัญในการสร้างสันติภาพที่ยั่งยืน โดยเฉพาะในยุคที่สังคมเผชิญปัญหาความขัดแย้งทางวัฒนธรรม การเมือง และสิ่งแวดล้อม</p>2025-03-10T03:57:34+00:00##submission.copyrightStatement##https://firstojs.com/index.php/MBU/article/view/1553การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมเรื่องกฎหมายใกล้ตัวโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบปัญหา เป็นฐานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านสันป่าสัก อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา 42025-03-31T01:01:00+00:00ณัฐพร ใจมั่นnatthaporn123ploy@gmail.comนิภาพร วรรณลังกาNatthaporn123ploy@gmail.comรัตติกร ชาญชำนิNatthaporn123ploy@gmail.com2025-03-29T00:00:00+00:00##submission.copyrightStatement##https://firstojs.com/index.php/MBU/article/view/1554ภาวะผู้นำกับการบริหารการเปลี่ยนแปลงในโลกยุคผันผวน2025-03-29T05:29:27+00:00พิริยากร คล้ายเพ็ชรPiriyakorn.K@nmc.ac.thพระครูสุธีวชิรธรรม -Piriyakorn.K@nmc.ac.th<p>โลกในยุคปัจจุบันกำลังเผชิญกับความผันผวนและไม่แน่นอนอย่างมาก ซึ่งเรียกว่า “VUCA World” ย่อมาจาก Volatility (ความผันผวน) Uncertainty (ความไม่แน่นอน) Complexity (ความซับซ้อน) และ Ambiguity (ความคลุมเครือ) การเปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและยากต่อการคาดการณ์ ทำให้องค์กรต่าง ๆ ต้องปรับตัวอย่างต่อเนื่องเพื่อตอบสนองต่อสภาวะแวดล้อมที่ไม่หยุดนิ่ง ซึ่งในบริบทนี้ภาวะผู้นำมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการขับเคลื่อนและบริหารการเปลี่ยนแปลงให้เกิดผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรม ผู้นำที่มีประสิทธิภาพไม่เพียงแต่มีความสามารถในการปรับตัวเองและองค์กรให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง แต่ยังต้องสามารถสร้างวิสัยทัศน์ นำพาทีมงาน และสร้างแรงบันดาลใจในการเดินไปข้างหน้าในทิศทางที่ชัดเจน ท่ามกลางสภาพแวดล้อมที่ผันผวนและไม่แน่นอน การจัดการการเปลี่ยนแปลงอย่างมีประสิทธิภาพจึงกลายเป็นเครื่องมือสำคัญในการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันขององค์กร ผู้นำในยุค VUCA จำเป็นต้องมีทักษะและคุณสมบัติที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นความยืดหยุ่น การคิดเชิงกลยุทธ์ การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ และความสามารถในการสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง</p>2025-03-29T00:00:00+00:00##submission.copyrightStatement##https://firstojs.com/index.php/MBU/article/view/1533DEVELOPMENT OF ENGLISH VOCABULARY PRONUNCIATION SKILLS USING BRAIN-BASED LEARNING FOR GRADE 7 STUDENTS AT WAT WIWEKWANARAM SCHOOL2025-03-30T02:47:02+00:00Saksit ChankhanSaksitjankun@gmail.comArtit IntibSaksitjankun@gmail.comJatuporn SimmaliSaksitjankun@gmail.com<p>The objective of this research article is as follows: 1) To test the effectiveness of an English vocabulary pronunciation practice for Grade 7 students at Wat Wiwekwanararm School according to the 70/70 standard; 2) To compare the achievement in English vocabulary pronunciation skills using Brain-Based Learning (BBL) for Grade 7 students at Wat Wiwekwanararm School before and after the lesson; and 3) To examine the satisfaction of Grade 7 students with Brain-Based Learning (BBL). The sample group consisted of Grade 7 students from Wat Wiwekwanararm School, selected through purposive sampling. The research design was a quasi-experimental design using a one-group pre-test and post-test method to measure the results before and after the experiment. The research instruments included a lesson plan, a pre-test and post-test, and a student satisfaction questionnaire. Data were analyzed using basic statistics, including mean, standard deviation, percentage, and t-test. </p> <p>The research findings are as follows: 1) The effectiveness of the English vocabulary pronunciation practice for Grade 7 students at Wat Wiwekwanararm School was 70.83/73.33, which is higher than the established standard of 70/70. 2) The achievement in English vocabulary pronunciation, using brain-based learning management, of Grade 7 students at Wat Wiwekwanararm School after the lesson was significantly higher than before the lesson at the .05 level of statistical significance. 3) The students' satisfaction with the brain-based learning management was at the highest level ( = 4.65, S.D. = 0.88).</p>2025-03-29T00:00:00+00:00##submission.copyrightStatement##https://firstojs.com/index.php/MBU/article/view/1557การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาผ่านสื่อดิจิทัล2025-03-29T05:56:26+00:00พระธิวากร ขนฺติคุณธโร (มอรูวี)noppadon_papatsaravangso@hotmail.comพระมหามนตรี อธิกาโร (อธิการกันทร)noppadon.don111@gmail.comสามเณรกิตติกร สมบุญnoppadon.don111@gmail.com<p>บทความวิชาการนี้มุ่งศึกษาแนวทางพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาผ่านสื่อดิจิทัล โดยบูรณาการการสอนภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ หลักการเผยแผ่ธรรมะ และเทคโนโลยีดิจิทัล ผลการศึกษาพบว่า รูปแบบการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ได้แก่ การเตรียมความพร้อม การนำเสนอเนื้อหาใหม่ การฝึกปฏิบัติ การประยุกต์ใช้ และการสะท้อนผล โดยมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษในบริบทพระพุทธศาสนาผ่านสื่อดิจิทัล ข้อเสนอแนะประกอบด้วยการพัฒนาศักยภาพครูผู้สอน การสร้างแพลตฟอร์มการเรียนรู้เฉพาะทาง และการสร้างเครือข่ายความร่วมมือระดับนานาชาติ ทั้งนี้ แนวโน้มการพัฒนาในอนาคตยังรวมถึงการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อสนับสนุนการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในระดับสากลอย่างยั่งยืน</p>2025-03-29T05:56:26+00:00##submission.copyrightStatement##https://firstojs.com/index.php/MBU/article/view/1558แนวทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาด้วยภาษาอังกฤษผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลในศตวรรษที่ 212025-03-29T06:15:07+00:00พระอานนท์ อานนฺโท (เปลือกเขียว)noppadon.don111@gmail.comพระนพดล ปภสฺสรวํโส (ปันมะ)noppadon_papatsaravangso@hotmail.comพระเจษฎา ชินวโร (ลังกาชัย)noppadon.don111@gmail.com<p>บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาผ่านสื่อภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีดิจิทัลในศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน พัฒนาการ และความท้าทายของการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในยุคดิจิทัล ตลอดจนนำเสนอแนวทางการบูรณาการภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายในระดับนานาชาติ ขอบเขตการศึกษาครอบคลุมถึงการวิเคราะห์ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีต่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนา การปรับตัวเชิงกลยุทธ์ของพระสงฆ์และสถาบันทางศาสนา และบทบาทของภาษาอังกฤษในฐานะสื่อกลางสำคัญในการเผยแผ่หลักธรรม ผลการศึกษาพบว่า ความสำคัญของการพัฒนาสมรรถนะด้านภาษาอังกฤษ การออกแบบสื่อการสอนที่สอดคล้องกับบริบทร่วมสมัย และการพัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัลที่ตอบสนองพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนในยุคดิจิทัล ข้อค้นพบสำคัญแสดงให้เห็นว่าเทคโนโลยีดิจิทัลสามารถลดข้อจำกัดด้านเวลาและสถานที่ อันนำไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพและการเข้าถึงการเผยแผ่หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาอย่างมีนัยสำคัญ</p>2025-03-29T06:15:07+00:00##submission.copyrightStatement##https://firstojs.com/index.php/MBU/article/view/1552ปัจจัยที่มีผลต่อการดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษา ชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาการปกครอง มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา2025-03-30T02:51:06+00:00เขมณัฏฐ์ ไพรพนาเวศkhemnatth981@gmail.comพระธีรสิทธิ สิริสุวณฺโณ (ไชยชนะ)khemnatth981@gmail.comธนกฤษ สมบุญkhemnatth981@gmail.comอัญชลี แสงเพชรkhemnatth981@gmail.com<p>การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษาชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาการปกครอง มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษาปีที่ 3 สาขาวิชาการปกครอง และเพื่อเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาการดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษาปีที่ 3 สาขาวิชาการเมืองการปกครอง เป็นการศึกษาวิจัยเชิงสํารวจ กลุ่มตัวอย่างในการศึกษา คือ นักศึกษาสาขาวิชาการเมืองการปกครอง ชั้นปีที่ 3 จำนวน 21 คน โดยใช้เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม มีการวิเคราะห์ข้อมูลออกมาเป็นค่าความถี่ค่าร้อยละ,ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมในกิจกรรมของนักศึกษาสาขาวิชาการปกครอง มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา ด้านสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับน้อยที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย พบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดอันดับแรกคือปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมส่งผลให้คุณดื่มแอลกอฮอร์โดยการดื่มแอลกอฮอร์เพราะความสนุกสนานอยู่ในระดับน้อยที่สุด ดื่มแอลกอฮอร์เพราะมีคนชักชวนอยู่ในระดับน้อยที่สุดล, ดื่มแอลกอฮอร์เพื่อเข้าสังคมอยู่ในระดับน้อยที่สุด,ปัจจัยด้านครอบครัวส่งผลให้คุณดื่มแอลกอฮอร์อยู่ในระดับน้อยที่สุด, การได้รับบาดเจ็บจากการดื่มแอลกอฮอร์อยู่ในระดับน้อยที่สุด ดื่มแอลกอฮอร์เพราะเจอปัญหารุมเร้าอยู่ในระดับน้อยที่สุด, รู้สึกกระวนกระวายหรือไม่หากไม่ได้ดื่มแอลกอฮอร์อยู่ในระดับน้อยที่สุด, การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอร์บ่อยเพียงใดอยู่ในระดับน้อยที่สุดและการดื่มแอลกอฮอร์เพราะโดนเพื่อนบังคับอยู่ในระดับที่น้อยที่สุด</p>2025-03-29T06:41:45+00:00##submission.copyrightStatement##https://firstojs.com/index.php/MBU/article/view/1549การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์เรื่องการศึกษาค้นคว้าประวัติศาสตร์ท้องถิ่นโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านดงป่าหวาย อำเภอดอยหล่อ จังหวัดเชียงใหม่2025-03-31T01:04:07+00:00กฤษดา ฐิติมโนกุลkkpkkp2545@gmail.comอัมพร คำอ้ายkkpkkp2545@gmail.comรัตติกร ชาญชำนิkkpkkp2545@gmail.com<p>บทความวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อสร้างและทดสอบประสิทธิภาพชุดกิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านดงป่าหวาย ตามเกณฑ์มาตรฐาน75/75 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ เรื่องการศึกษาค้นคว้าประวัติศาสตร์ท้องถิ่น โดยใช้การเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนเรียนและหลังเรียน 3) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้การเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 10 คน โดยเลือกแบบเจาะจง (Specific samplegroup) รูปแบบการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi Experimental research) ด้วยวิธีการใช้กลุ่มทดลองเดี่ยวเพื่อวัดผลก่อนและหลังการทดลอง (Onegroup Pretest - Posttest) เครื่องมือทีใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการจัดการเรียน และแบบทดสอบความคิดเห็นของนักเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ และสถิติทดสอบค่า t-test) แบบ Dependent Sample</p> <p><strong>ผลการวิจัยพบว่า</strong> 1) ผลการทดสอบประสิทธิภาพชุดกิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5 มีประสิทธิภาพ 79/85.33 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้คือ 75/75 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง การศึกษาค้นคว้าประวัติศาสตร์ท้องถิ่นโดยใช้การเรียนแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ผลความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบเพื่อนช่วยเพื่อนอยู่ในระดับมากเท่ากับค่าเฉลี่ย 4.34</p>2025-03-29T10:07:18+00:00##submission.copyrightStatement##https://firstojs.com/index.php/MBU/article/view/1550พัฒนาชุดกิจกรรมการเรียน เรื่องสถาบันทางสังคมโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสามัคคีวิทยาทาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่2025-03-31T01:03:16+00:00ศุภิสรา หยอมวิไลyomwilais@gmail.comพระมหาวีรศักดิ์ สุรเมธีhyxmwilisuphisra975@gmail.comตระกูล ชำนาญhyxmwilisuphisra975@gmail.com<p>บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างและทดสอบประสิทธิภาพชุดกิจกรรมการเรียนรู้การศึกษาของนักเรียน 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา เรื่องสถาบันทางสังคมโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือก่อนเรียนและหลังเรียน 3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสามัคคีวิทยาทาน ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสามัคคีวิทยาทาน อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (ฝ่ายพระปริยัติธรรม) โดยเลือกแบบเจาะจง (Specific sample group) รูปแบบการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi Experimental research) ด้วยวิธีการใช้กลุ่มทดลองเดี่ยวเพื่อวัดผลก่อนและหลังการทดลอง (One group Pretest – Posttest) การหาประสิทธิภาพของเครื่องมือในการวิจัยมี 3 ชุด ได้แก่ 1) แผนการจัดเรียนรู้ 2) ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ และสถิติทดสอบค่า t-test) แบบ Dependent Sample.</p> <p> <strong>ผลการวิจัยพบว่า</strong> 1) ผลการทดสอบประสิทธิภาพชุดกิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีประสิทธิภาพ 80.26/86.02 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้คือ 75/75 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง สถาบันทางสังคม โดยใช้การเรียนแบบร่วมมือของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ผลความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบร่วมมืออยู่ในระดับมากค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.38</p>2025-03-29T10:30:42+00:00##submission.copyrightStatement##https://firstojs.com/index.php/MBU/article/view/1551การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรมเรื่องความรู้ด้านกฎหมายโดยใช้การจัดการเรียนรู้ แบบทฤษฎีหมวก 6 ใบ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนธรรมราชศึกษา2025-03-29T11:01:07+00:00ไพรินทร์ มณีวรรณPairinpairin471@gmail.comอนุชา พงษ์ใจเหล็กPairinpairin471@gmail.comพระมหาวีรศักดิ์ สุรเมธีPairinpairin471@gmail.com<p>บทความวิจัยนี้เป็นการวิจัยรูปแบบการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-experimental research) มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 2) เพื่อหาค่าดัชนีประสิทธิผลของแผนการจัดการเรียนรู้ 3) เพื่อการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนให้ถึงเกณฑ์ร้อยละ 75 และ 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้ โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบทฤษฎีหมวก 6 ใบ กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนธรรมราชศึกษา (ฝ่ายพระปริยัติธรรม) โดยเลือกแบบเจาะจง (Specific sample group) รูปแบบการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi Experimental research) ด้วยวิธีการใช้กลุ่มทดลองเดี่ยวเพื่อวัดผลก่อนและหลังการทดลอง (One group Pretest – Posttest) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการจัดการเรียน และแบบทดสอบความคิดเห็นของนักเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ และสถิติทดสอบค่า t-test) แบบ Dependent Sample</p> <p><strong>ผลการวิจัยพบว่า</strong> 1) ผลการทดสอบประสิทธิภาพชุดกิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีประสิทธิภาพ 80/80 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้คือ 75/75 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง ความรู้ด้านกฎหมายโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบทฤษฎีหมวก 6 ใบ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ผลความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบทฤษฎีหมวก 6 ใบอยู่ในระดับ 4.38</p>2025-03-29T11:01:07+00:00##submission.copyrightStatement##https://firstojs.com/index.php/MBU/article/view/1548การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา เรื่องวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบวิธีสตอรี่ไลน์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านแม่อมกิ อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตากสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตากเขต 22025-03-29T11:33:56+00:00สิริประภา สันทัดพนาไพรssantadpanaphai@gmail.comอัครพล กระสินธุสุขสันต์ssantadpanaphai@gmail.comพระครูสุนทรมหาเจติยานุรักษ์ -ssantadpanaphai@gmail.com<p>บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาและทดสอบประสิทธิภาพชุดกิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/1 โรงเรียนบ้านแม่อมกิมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน75/75 2) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์วิชาสังคมศึกษาโดยใช้การเรียนรู้แบบวิธีสตอรี่ไลน์ เรื่องวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาก่อนเรียนและหลังเรียน 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่6/1 โรงเรียนบ้านแม่อมกิที่เรียนรู้โดยใช้การเรียนรู้แบบวิธีสตอรี่ไลน์เรื่องวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาประชากรคือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/1 โรงเรียนบ้านแม่อมกิจำนวน 25 คนได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง(specific samplegroup) ด้วยวิธีการใช้กลุ่มทดลองกลุ่มเดียวเพื่อวัดผลก่อนและหลังการทดลอง(Onegroup Pretest – Posttest Design) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่แผนการจัดการเรียนรู้แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนและแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐานได้แก่ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ และสถิติทดสอบค่า t-test แบบ Dependent Sample</p> <p> <strong>ผลการวิจัยพบว่า</strong> 1) ผลการทดสอบประสิทธิภาพชุดกิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/1 มีประสิทธิภาพ 80/84.2 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้คือ 75/75 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาโดยใช้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบวิธีสตอรี่ไลน์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/1 โรงเรียนบ้านแม่อมกิของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 3) ผลความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/1</p> <p>มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบวิธีสตอรี่ไลน์อยู่ในระดับมาก ( = 4.10, S.D. = 0.84)</p> <p><strong>คำสำคัญ</strong><strong>:</strong> 1. การสอนแบบวิธีสตอรี่ไลน์; 2. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้; 3. การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน</p>2025-03-29T00:00:00+00:00##submission.copyrightStatement##https://firstojs.com/index.php/MBU/article/view/1560หลักวุฒิธรรม 4 กับภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคปัญญาประดิษฐ์2025-03-31T08:55:18+00:00กิตติ สมอุ่มจารย์kittisumjarn@gmail.comพระมหาปฐมภูมิ ปญฺญาปทีโป (จังพล)kittisumjarn@gmail.comพระครูประดิษฐ์บุญธรรม (โสกเชือก)kittisumjarn@gmail.com<p>ในยุคที่เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) ก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว ภาวะผู้นำในสถานศึกษามีความสำคัญอย่างยิ่งในการนำพาสถานศึกษาให้ก้าวผ่านการเปลี่ยนแปลง ผู้บริหารสถานศึกษาที่ประสบความสำเร็จในยุคนี้ควรมีลักษณะของภาวะผู้นำที่หลากหลาย เช่น ภาวะผู้นำเชิงเปลี่ยนแปลง ภาวะผู้นำแบบมีส่วนร่วม และภาวะผู้นำเชิงกระจายอำนาจ เพื่อสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่เปิดรับนวัตกรรมและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต นอกจากนี้ หลักวุฒิธรรม 4 ประการ ยังเป็นแนวทางที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาภาวะผู้นำในสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ 1) การส่งเสริมการคบหาคนดี (สัปปุริสสังเสวะ) สร้างทีมงานที่มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความสามารถ 2) การฟังธรรมและเรียนรู้ (สัทธัมมัสสวนะ) เปิดรับความคิดเห็นจากทุกฝ่ายและเรียนรู้จากประสบการณ์ 3) การคิดพิจารณาอย่างแยบคาย (โยนิโสมนสิการ) ตัดสินใจอย่างรอบคอบโดยใช้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีในสถานศึกษา และ 4) การปฏิบัติธรรมอย่างถูกต้อง (ธัมมานุธัมมปฏิบัติ) ประพฤติปฏิบัติด้วยความเป็นธรรมและจริยธรรม</p> <p>ดังนั้นผู้เขียนบทความได้นำเสนอภาวะผู้นำที่เหมาะสมและการนำหลักวุฒิธรรม 4 ประการมาประยุกต์ใช้ ที่จะช่วยให้ผู้บริหารสถานศึกษาสามารถพัฒนาสถานศึกษาให้มีความเข้มแข็ง สามารถปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างสรรค์สังคมแห่งการเรียนรู้ที่ยั่งยืน</p>2025-03-31T08:55:18+00:00##submission.copyrightStatement##