https://firstojs.com/index.php/JEM/issue/feed วารสารศาสตร์การสอน (Journal of Teaching Science) 2023-04-26T15:02:26+00:00 พระครูธรรมธร ชัยวิชิต ชยาภินนฺโท, ผศ. ดร. chai.cnx1977@gmail.com Open Journal Systems <p><strong>วัตถุประสงค์</strong></p> <p>1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย และผลงานวิชาการที่มีคุณภาพของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา อาจารย์ และนักวิจัยที่ต้องการเผยแพร่ผลงานวิจัย และผลงานวิชาการทั้งภายในและภายนอก และรับพิจารณาตีพิมพ์บทความวิจัย หรือบทความวิชาการในสาขาวิชาต่าง ๆ ดังนี้</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 1) ประกอบด้วยเนื้อหาเกี่ยวกับศาสตร์ทางการศึกษาในสาขาวิชาต่าง ๆ อาทิ หลักสูตรและการสอน ได้แก่ การศึกษาปฐมวัย ประถมศึกษา การสอนภาษาไทย การศึกษาคณิตศาสตร์ การศึกษาวิทยาศาสตร์ การสอนสังคมศึกษา สุขศึกษาและพลศึกษา การสอนการงานอาชีพและเทคโนโลยี และการสอนภาษาต่างประเทศ ศิลปศึกษา ดนตรีศึกษา และนาฏศิลป์ศึกษา</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 2) การจัดการและความเป็นผู้นำทางการศึกษา ได้แก่ พัฒนศึกษา บริหารการศึกษา นิเทศการศึกษา อุดมศึกษา ธุรกิจและอาชีวศึกษา วิจัยการศึกษา การวัดและประเมินผลการศึกษา สถิติและสารสนเทศการศึกษา จิตวิทยาการศึกษา สื่อทางการศึกษา เทคโนโลยีการศึกษา การศึกษาตลอดชีวิต และการศึกษานอกระบบโรงเรียน</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 3) สาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง</p> <p>2. เพื่อเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการและงานวิจัยแก่ผู้สนใจทั่วไปและเป็นสื่อกลางในการ นําเสนอความก้าวหน้าทางการวิจัยของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา อาจารย์ และนักวิจัยที่ต้องการ เผยแพร่ผลงานวิจัย</p> <p>3. เพื่อเป็นแหล่งหรือสื่อกลางให้อาจารย์ เจ้าหน้าที่ นักศึกษา และผู้สนใจได้นําบทความ ทางวิชาการและบทความวิจัยที่มีคุณค่าทางวิชาการมาตีพิมพ์</p> <p>4. เพื่อให้บริการวิชาการแก่สังคมในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นทางวิชาการเพื่อการ แลกเปลี่ยนความรู้ด้านวิชาการและงานวิจัยในทุกสาขาวิชา</p> https://firstojs.com/index.php/JEM/article/view/1146 การศึกษาผลการใช้สมุดสะสมคะแนนในการสร้างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ในการเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดศรีสว่าง อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ 2023-03-14T16:39:19+00:00 กิตติมา พสุธาสีนิล kittimapasutasinin1860@gmail.com ไพศาล ศรีวิชัย kittimapasutasinin1860@gmail.com อนุษา ใหม่ศรี kittimapasutasinin1860@gmail.com <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการใช้สมุดสะสมคะแนนในการสร้างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในการส่งงานในวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ของโรงเรียนวัดศรีสว่าง อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 คนกลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 13 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ สมุดสะสมคะแนนและสติกเกอร์แต้มคะแนนในการสร้างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในการส่งงาน โดยอาศัยของรางวัลเป็นตัวเสริมแรง ผู้วิจัยใช้ระยะเวลาในการวิจัยตลอดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 การวิเคราะห์ข้อมูลโดย เปรียบเทียบร้อยละการส่งส่งงานของนักเรียนก่อนและหลังใช้สมุดสะสมคะแนนในการสร้างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในการส่งงานและวิเคราะห์คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยค่าสถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (x)</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า การใช้สมุดสะสมคะแนน ภายหลังจากการเรียนโดยใช้สมุดสะสมคะแนนกลุ่มสร้างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในการทำงาน ปรากฏว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดศรีสว่าง ภาคเรียนที่ 2 <br> ปีการศึกษา 2565 ที่ผู้วิจัยรับผิดชอบสอน จำนวน 13 คน มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในการทำงานและการส่งงานสูงขึ้น</p> 2023-03-14T16:20:24+00:00 ##submission.copyrightStatement## https://firstojs.com/index.php/JEM/article/view/1154 Development of Learning Achievement in Economics by Mind Mapping Learning Management Method of Prathom Suksa 4 Students at Wat Sri Sawang School. 2023-04-08T12:50:52+00:00 บังอร ใจกลางเมือง Bciklangmeuxng@gmail.com <p>This research The objective was to compare learning achievements in economics courses on goods and services. of Prathomsuksa 4 students who received Mind Mapping learning management between before and after learning. The population used in this research was Grade 4 students at Wat Sri Sawang School Office of the Chiang Mai Primary Educational Service Area, Region 4, 1 room, a total of 8 people. tools used in the study It consists of a learning management plan for social studies, religion and culture. subject matter of economics products and services, amount 1 learning plan for 1 hour, pre-learning and post-learning achievement assessment form on products and services, amount 1 issue, is a multiple-choice test, 4 choices, 10 items.</p> <p>The results showed that Achievement after studying economics subject products and services By using the mind mapping learning management method of grade 4 students after learning was higher than before, that is to say, the students received an achievement score after learning with an average score of 7.50, representing 87.5% of the the total number of students which is higher than before</p> 2023-03-14T00:00:00+00:00 ##submission.copyrightStatement## https://firstojs.com/index.php/JEM/article/view/1155 การพัฒนากระบวนการคิด โดยเทคนิคการสอนแบบซิปปาโมเดล ของนักเรียนโรงเรียนธรรมเมธีศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ของโรงเรียนธรรมเมธีศึกษา 2023-04-08T12:51:16+00:00 พระขจรพงษ์ แก้วปั๋น khajornpongsre@gmail.com ณัฐวุฒิ จิตกาวิน khajornpongsre@gmail.com <p>ในการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักเรียน เรื่อง ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ ที่ได้รับการจัดการ เรียนการสอนแบบโมเดลซิปปา เพื่อสร้างความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 &nbsp;โรงเรียนธรรมเมธีศึกษาจำนวนทั้งหมด 5 รูป เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบทดสอบก่อน - หลังเรียน ใบงานต่าง ๆ และแบบสอบถามความคิดเห็น เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าพัฒนา และความคิดเห็นของนักเรียนที่ได้เรียนด้วยการใช้เทคนิควิธีสอนแบบโมเดลซิปปา</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผู้วิจัยได้ดำเนินการจัดการเรียนรู้ด้วยการใช้เทคนิควิธีสอนแบบโมเดลซิปปา พบว่า นักเรียนที่เรียนด้วยการใช้เทคนิควิธีสอนแบบโมเดลซิปปาโมเดล เรื่อง ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ มีสถานะเป็นสามเณร(สามเณร) 5 รูป คิดเป็นร้อยละ 100</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; พบว่า ความหมายความคิดเห็นของนักเรียนโดยรวมที่เรียนด้วยเทคนิควิธีการสอนแบบโมเดลซิปปา อยู่ในระดับมากที่สุด (= 4.58 , SD = 0.16) มีภาษาที่ครูใช้ทำให้นักเรียนเข้าใจง่าย อยู่ในระดับดีมาก (= 4.92, SD = 0.29) รองลงมา วีใบงานที่ครูใช้ในการสอนมีความเหมาะสมกับเนื้อหา มีค่าเท่ากับบุคลิกภาพ การแต่งตัวของครูมีความเหมาะสม (= 4.75 , SD = 0.45) และ ใบงานที่ครูใช้ในการสอนมี ตัวหนังสือชัดเจน มีค่าเท่ากับ นักเรียนสามารถนำเนื้อหาที่ได้เรียนรู้ไปต่อยอดในการเรียนครั้งต่อไป (= 4.58 , SD = 0.51) ตามลำดับ</p> 2023-03-14T00:00:00+00:00 ##submission.copyrightStatement## https://firstojs.com/index.php/JEM/article/view/1157 การศึกษาผลสัมฤทธิ์ในการเรียน เรื่องสถาบันการเงิน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนฮอดพิทยาคม โดยใช้บทเรียนสำเร็จรูปเป็นฐาน 2023-04-08T12:51:34+00:00 พระนนทวัตร ชยาลงฺกรโณ ko.nontawat23@gmail.com พระวิทวัส โกฎฺฉกรรจ์ ko.nontawat23@gmail.com <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาผลการใช้บทเรียนสำเร็จรูป รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระการเรียนรู้เศรษฐศาสตร์ เรื่อง สถาบันการเงิน&nbsp; สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนฮอดพิทยาคม</p> <p>2) เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนโดยใช้บทเรียนสำเร็จรูป รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระการเรียนรู้เศรษฐศาสตร์ เรื่อง สถาบันการเงิน&nbsp; สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนฮอดพิทยาคม 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจขอเรียนที่มีต่อการเรียนโดยใช้บทเรียนสำเร็จรูปรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระการเรียนรู้เศรษฐศาสตร์ เรื่อง สถาบันการเงิน&nbsp; สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนฮอดพิทยาคม</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li class="show">ผลการใช้บทเรียนสำเร็จรูป พบว่านักเรียนยังไม่มีการพัฒนาขึ้นนวัตกรรมยังไม่ได้มาตรฐาน ผู้ศึกษาสร้างขึ้น มีค่าดัชนี ประสิทธิผลเท่ากับ EI = 0.72 และมีประสิทธิภาพเท่ากับ&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; E1 / E2= 76.66 / 84.44 หมายความว่านักเรียนได้คะแนนเฉลี่ยจากการทำกิจกรรมในแต่ละแบบฝึกหัด คิดเป็นร้อยละ 76.66&nbsp; และคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบหลังเรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์&nbsp; คิดเป็นร้อยละ 84.44&nbsp; แสดงให้เห็นว่า การใช้บทเรียนสำเร็จรูป เรื่องสถาบันการเงิน มีประสิทธิภาพเช่นนี้เนื่องมาจาก การสร้างนวัตกรรมด้วยบทเรียนสำเร็จรูป ได้ทำการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลก่อน และการสร้างบทเรียนสำเร็จรูปผ่านการตรวจสอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาและครูพี่เลี้ยง</li> <li class="show"> <ol start="2"> <li class="show">ความแตกต่างระหว่างคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนเหตุการณ์แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ พบว่า การทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนมากไปในทิศทางที่สูงขึ้น</li> </ol> <p>3.ความพึงพอใจเกี่ยวกับผลการใช้บทเรียนสำเร็จรูป เรื่องสถาบันการเงิน&nbsp; ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามคือ นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1/3 จำนวน 36 คน เรียงลำดับจากมากไปหาน้อยดังนี้ จากการเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนความคิดเห็น ภาพที่ใช้ประกอบสอดคล้องกับเนื้อหา เฉลี่ยอยู่ในระดับที่ 4.53 หมายถึง ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาตัวอักษรและสีที่ใช้สื่อความหมายที่เข้าใจง่าย เฉลี่ยอยู่ในระดับที่ 4.47&nbsp; หมายถึง ความพึงพอใจในระดับมาก คำชี้แจงของการใช้บทเรียนสำเร็จรูปชัดเจนเข้าใจง่าย เฉลี่ยอยู่ในระดับที่ 4.44 หมายถึง ความพึงพอใจในระดับมากเนื้อหามีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์เฉลี่ยอยู่ในระดับที่ 4.44 หมายถึง ความพึงพอใจในระดับมาก เรื่องเนื้อหาบทเรียนชัดเจน เฉลี่ยอยู่ในระดับที่ 4.36&nbsp; หมายถึงความพึงพอใจในระดับมาก เนื้อหามีความน่าสนใจสอดคล้องต่อเนื่องกัน เฉลี่ยอยู่ในระดับที่ 4.31 หมายถึงความพึงพอใจในระดับมาก</p> </li> </ol> 2023-03-14T00:00:00+00:00 ##submission.copyrightStatement## https://firstojs.com/index.php/JEM/article/view/1153 การศึกษาเจตคติต่อการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดศรีสว่าง อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ 2023-04-26T15:01:55+00:00 อารีรัตน์ นลินสกุล fouwarreerat26@gmail.com พระวิทวัส โกฎฺฉกรรจ์ fouwarreerat26@gmail.com <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ๑) เพื่อศึกษาศึกษาเจตคติต่อการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนวัดศรีสว่าง สมมติฐานการวิจัย คือ เจตคติต่อการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนวัดศรีสว่าง ในแต่ละด้านส่วนใหญ่อยู่ในระดับต่ำ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนวัดศรีสว่าง ปีการศึกษา ๒๕๖๕ จำนวนนักเรียนทั้งหมด ๓๒ คน โดยใช้วิธีการคัดเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามเรื่องเจตคติต่อการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนวัดศรีสว่างและสถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย(x̅) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)</p> <p>สรุปผลการวิจัย เจตคติต่อการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ จำนวน ๔ ด้าน นักเรียนมีเจตคติต่อประวัติศาสตร์โดยรวมมีระดับปานกลางทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์</p> 2023-03-14T00:00:00+00:00 ##submission.copyrightStatement## https://firstojs.com/index.php/JEM/article/view/1181 การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาประวัติศาสตร์ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่องบทบาทของชาติไทยในสมัยประชาธิปไตยโดยใช้ ผังกราฟิก โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ 2023-04-26T15:02:26+00:00 หทัยรัตน์ ทะนะ hathairat99@gmail.com ไพศาล ศรีวิชัย hathairat99@gmail.com ศิริมา เมฆปัจฉาพิชิต hathairat99@gmail.com <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้1) เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง บทบาทของชาติไทยในสมัยประชาธิปไตยโดยใช้วิธีการสอนแบบผังกราฟิก 2) เพื่อหาผลสัมฤทธิ์การเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยผังกราฟิก และ 3) เพื่อประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยผังกราฟิก ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ มีจำนวนทั้งหมด 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ผังกราฟิกแบบผังใยแมงมุมและผังวงกลมซ้อน สถิติที่ใช้ในงานวิจัย (E1/E2) ผลการวิจัยมีดังนี้</p> <ol> <li class="show">ประสิทธิภาพของการใช้การใช้ผังกราฟิกเพื่อพัฒนาการเรียนรู้เรื่องบทบาทของชาติไทยในสมัยประชาธิปไต มีประสิทธิภาพเท่ากับ80.66ซึ่งต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ คือ 80/80 แสดงว่าการใช้ผังกราฟิกเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ นั้นไม่ได้ผลตามสมมติฐานที่ตั้งไว้</li> <li class="show">ประสิทธิผลของการใช้ผังกราฟิกเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ มีค่าเท่ากับ .55 แสดงว่านวัตกรรมการใช้ผังกราฟิกเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ มีประสิทธิผลสูงกว่าเกณฑ์และเป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ (0.50)</li> <li class="show">ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน พบว่า นักเรียนทำคะแนนหลังเรียนได้มากกว่าก่อนเรียน มีค่าเฉลี่ย 5.5 คะแนน แสดงว่านักเรียนมีพัฒนาการเพิ่มขึ้น ถึงแม้ว่าการใช้ผังกราฟิกเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ มีค่าประสิทธิผลเท่ากับ 0.55</li> </ol> 2023-03-14T00:00:00+00:00 ##submission.copyrightStatement##